ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สชีวภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bn:বায়োগ্যাস
Gigo~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ '''ก๊าซหนองน้ำ''' และ '''มาร์ซก๊าซ''' (marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน [[ของเสีย]] ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็น[[กระแสไฟฟ้า]] นอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย [[เชื้อโรค]] ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น [[การบริหารจัดการของเสีย]] ที่ควรได้รับการสนับสนุนเพราะมันไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] ในบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ [[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]](greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ของ '''ก๊าซชีวภาพ''' ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทนจะสะอาดกว่า
 
== ขบวนการกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะปราศจากออกซิเจน(Anaerobic digestion) ==
 
ขบวนการย่อยสลายประกอบด้วย ๒ ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการย่อยสลายสารอินทรีย์โมเลกุลใหญ่ เช่น [[ไขมัน]] [[แป้ง]] และ[[โปรตี]]น ซึ่งอยู่ในรูปสารละลายจนกลายเป็นกรดอินทรีย์ระเหยง่าย (volatile acids) โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด (acid-producing bacteria) และขั้นตอนการเปลี่ยนกรดอินทรีย์ให้เป็นแก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ โดยจุลินทรีย์กลุ่มสร้างมีเทน (methane-producing bacteria)
 
ก๊าซชีวภาพเกิดจากการหมักของสารอินทรีย์โดยมีจุลินทรีย์จำพวกแบคทีเรียเช่นจุลินทรีย์กลุ่มสร้างมีเทน (methane-producing bacteria)หรือ[[เมทาโนเจน]] เเละจุลินทรีย์กลุ่มสร้างกรด (acid-producing bacteria) มาช่วยย่อยในสภาวะไร้อากาศ ในกระบวนการย่อยในสภาวะไร้อากาศ เป็นการที่จุลินทรีย์ต่างๆ ทำปฏิกิริยาย่อยสลายสารอินทรีย์
ลงจากสิ่งมีชีวิตซึ่งมีโครงสร้างที่ซับซ้อนลงเป็นโครงสร้างที่ซับซ้อนน้อยลงเป็นขั้นๆ ไป
==== กระบวนการหมักย่อยในสภาวะไร้อากาศแบ่งเป็น 4 ขั้นดังนี้ ====
# ไฮโดรลิซิส(Hydrolysis): สารอินทรีย์(เศษพืชผัก เนื้อสัตว์) มีองค์ประกอบสำคัญคือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน แบคทีเรียจะปล่อยเอ็นไซม์เอกซ์ตราเซลลูลาร์ (extra cellular enzyme) มาช่วยละลายโครงสร้างโมเลกุลอันซับซ้อนให้แตกลงเป็นโมเลกุลเชิงเดี่ยว (monomer) เช่นการย่อยสลายแป้งเป็นน้ำตาลกลูโคส การย่อยสลายไขมันเป็นกรดไขมัน และการย่อยโปรตีนเป็นกรดอะมิโน
# แอซิดิฟิเคชั่น หรือ เเอซิโดเจเนซิส(Acidification/ Acidogenesis):การย่อยสลายสารอินทรีย์เชิงเดี่ยว (monomer)เป็นกรดระเหยง่าย (volatile fatty acid) กรดคาร์บอน แอลกอฮอลล์ คาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนีย และไฮโดรเจน
# อะซิโตเจเนซิส (Acetogenesis) เปลี่ยนกรดระเหยง่ายเป็นกรดอะซิติกหรือเกลืออะซิเทตซึ่งเป็นสารตั้งต้นหลักในการผลิตมีเทน
# เมทาไนเซชั่น หรือ เมทาโนเจเนซิส (Methanization/Methanogenesis): กรดอะซิติก และอื่นๆ จากขั้น 2 รวมถึงคาร์บอนไดออกไซด์และไฮโดรเจนบางส่วน จะเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนเป็นมีเทนโดยเมทาโนเจน (methanogen)
 
 
CH<sub>3</sub>COOH --> CH<sub>4</sub> + CO<sub>2</sub>
<br />กรดอะซิติก มีเทน คาร์บอนไดออกไซด์
<br />2CH<sub>3</sub>CH<sub>2</sub>OH + CO<sub>2</sub> --> CH<sub>4</sub> + 2CH<sub>3</sub>COOH
<br />เอทานอล คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน กรดออะซิติก
<br />CO<sub>2</sub> + 4H<sub>2</sub> --> CH4<sub>4</sub> + 2H<sub>2</sub>O
<br /> คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน มีเทน น้ำ
 
 
==แบคทีเรีย เมทาโนเจนิค หรือ เมทาโนเจน(Methanogenic bacteria หรือ methanogens)==
 
เมทาโนเจน คือแบคทีเรียที่ดำรงชีวิตภายใต้สภาวะไร้อากาศ(anaerobic) ในวงจรชีวิตของมัน เมทาโนเจน จะย่อยสารอาหารและปล่อยก๊าซต่างๆ ซึ่งรวมถึงมีเทนด้วย
เมทาโนเจน มีอยู่หลายชนิดโดยแบ่งออกเป็นสี่ประเภทหลักๆ ตามลักษณะทางเซลล์วิทยา (cytology) (Alexander, 1961).
*A. Rod-shaped Bacteria
**(a) Non-sporulating, Methanobacterium
**(b) Sporulating, Methanobacillus
*B. Spherical
**(a) Sarcinae, Methanosarcina
**(b) Not in Sarcinal groups, Methanococcus
 
Methanogenนั้นพัฒนาและเพิ่มจำนวนได้ช้า ทั้งยังค่อนข้างอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันทั้งทางกายภาพ หรือทางเคมี ซึ่งหากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันเกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบต่อการเพิ่มจำนวนและการเกิดก๊าซ อย่างไรก็ตามเมทาโนเจนนั้นสามารถอยู่ได้โดยไม่มีอาหารเพิ่มเติมได้นานเป็นเดือน
 
== ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตแก๊สชีวภาพ ==