ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายกักกันนาซี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ถูก +คำที่มีความหมายไม่ดี มี ถูกส่งตัว ถูกประหารชีวิต ถูกกักตัว เป็นต้น (แก้แล้ว)
บรรทัด 1:
{{ดูเพิ่มที่|ค่ายมรณะ}}
{{แก้ภาษา}}
[[ไฟล์:NaziConcentrationCamp.gif|thumb|right|375px|กองกำลังสหรัฐอเมริกา ณ ค่ายกักกันซึ่งได้รับการปลดปล่อย เผชิญหน้ากับพลเรือนชาวเยอรมันพร้อมกับหลักฐาน: รถบรรทุกซึ่งเต็มไปด้วยซากศพ]]
[[นาซีเยอรมนี]]ได้จัดตั้ง'''[[ค่ายกักกัน]]'''ขึ้นตลอดดินแดนยึดครองของตน ค่ายกักกันนาซีในช่วงแรก ๆ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากในเยอรมนีภายหลัง[[เหตุการณ์เพลิงไหม้รัฐสภาไรช์สทัก]] ในปี ค.ศ. 1933 โดยตั้งใจที่จะคุมขังนักโทษการเมืองและผู้ต่อต้านรัฐบาล ค่ายกักกันดังกล่าวได้เพิ่มจำนวนขึ้นอีกในช่วงคริสตทศวรรษ 1930 เมื่อมีการคุมขังนักโทษการเมืองและกลุ่มบุคคลอีกหลายกลุ่มโดยไม่มีการไต่สวนหรือกระบวนการตุลาการ คำดังกล่าวเป็นคำยืมมาจาก ''ค่ายกักกันอังกฤษ'' ระหว่าง[[สงครามอังกฤษ-บัวร์ครั้งที่สอง]] นักวิชาการเรื่อง[[การล้างชาติโดยนาซี]] (Holocaust) ได้กำหนดข้อแตกต่างระหว่างค่ายกักกัน (ดังที่อธิบายในบทความนี้) แล[[ค่ายมรณะ]] ซึ่งเป็นค่ายที่สร้างขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ในการสังหารประชากรจำนวนมากลงเพียงอย่างเดียยว ได้แก่ ชาวยิวในทวีปยุโรป ชาวโปล ชาวยิปซี และชาติอื่น ๆ ค่ายมรณะรวมไปถึง เบลเซค โซบิบอร์ ทริบลิงก้า และเอาชวิตซ์-เบอร์เคนาว
เส้น 22 ⟶ 21:
การขนส่งนักโทษโดยรถรางบรรทุกมักจะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เมตตา ที่ซึ่งนักโทษจำนวนมากเสียชีวิตก่อนที่จะไปถึงจุดหมาย นักโทษจะถูกกักตัวอยู่ในรถราง ซึ่งบ่อยครั้งแล้วมักจะเป็นวันหรือเป็นสัปดาห์ โดยไม่มีน้ำหรืออาหาร หรือมิฉะนั้นก็มีให้น้อยมาก นักโทษจำนวนมากเสียชีวิตจากการขาดน้ำในอากาศร้อนจัดในฤดูร้อน หรือแข็งจนตายในฤดูหนาว นอกจากนี้ ค่ายกักกันพบเห็นในเยอรมนีด้วยเช่นกัน และในขณะที่มันมิได้รับการออกแบบมาเพื่อการสังหารหมู่อย่างเป็นระบบโดยเฉพาะ แต่นักโทษจำนวนมากก็เสียชีวิตจากสภาพแวดล้อมที่โหดร้ายหรือไม่ก็ถูกประหารชีวิต
 
ในช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1941 หน่วยเอสเอส รวมทั้งแพทย์และเจ้าหน้าที่จาก[[แผนปฏิบัติการที-4|โครงการปรานีฆาต ที-4]] เริ่มต้นการสังหารนักโทษซึ่งได้รับเลือกใน "ปฏิบัติการ 14f13" กองตรวจค่ายกักกันได้จัดหมวดหมู่ไฟล์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการตายของนักโทษรวมกับ 14f และไฟล์ของนักโทษที่ถูกส่งตัวไปยังห้องรมแก๊สที-4 รวมกับ 14f13 ภายใต้ข้อบังคับทางด้านภาษาของเอสเอส นักโทษที่ได้รับเลือกจะถูกระบุสำหรับ "การปฏิบัติอย่างพิเศษ ({{lang-de|''Sonderbehandlung''}}) 14f13" นักโทษจะถูกได้รับเลือกอย่างเป็นทางการ ขึ้นอยู่กับสภาพทางการแพทย์ของพวกเขา; กล่าวคือ ผู้ซึ่งไม่เหมาะสมต่อการใช้แรงงานอย่างถาวร เนื่องจากความเจ็บป่วย และอย่างไม่เป็นทางการ ได้ใช้หลักเกณฑ์ทางเชื้อชาติและการบำรุงพันธุ์มนุษย์: ชาวยิว ผู้พิการ และผู้ซึ่งมีประวัติอาชญากรรมหรือต่อต้านสังคม<ref>{{cite book |last=Friedlander |first=Henry |year=1995 |title=The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution |publisher=University of North Carolina Press |location=Chapel Hill |pages=144}}</ref> แต่สำหรับนักโทษชาวยิว ทางการไม่แสร้งทดสอบทางการแพทย์พวกเขาเสียด้วยซ้ำ: บันทึกการจับกุมทั้งหลายจะถูกได้รับการระบุว่าเป็นการวินิจฉัยของแพทย์ทั้งสิ้น<ref>{{cite book |last=Friedlander |first=Henry |year=1995 |title=The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution |publisher=University of North Carolina Press |location=Chapel Hill |pages=147-148}}</ref> ในตอนต้นของปี ค.ศ. 1943 เมื่อมีความต้องการใช้แรงงานมากขึ้น และห้องรมแก๊สที่ค่ายเอาชวิตซ์เริ่มใช้การได้ [[เฮนริช ฮิมม์เลอร์]] ออกคำสั่งยกเลิกปฏิบัติการ 14f13<ref>{{cite book |last=Friedlander |first=Henry |year=1995 |title=The Origins of Nazi Genocide: From Euthanasia to the Final Solution |publisher=University of North Carolina Press |location=Chapel Hill |pages=150}}</ref>
 
ภายหลังปี ค.ศ. 1942 มีการก่อตั้งค่ายย่อย ๆ ขนาดเล็กจำนวนมากถูกตั้งขึ้นใกล้กับโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อป้อนการบังคับใช้แรงงาน [[อีเกฟาร์เบน]] ได้ก่อตั้งเครื่องจักรผลิต[[ยางสังเคราะห์]] ในปี ค.ศ. 1942 ที่[[ค่ายกักกันโมโนวิทซ์]] (เอาชวิตซ์ 3) ; มีการก่อตั้งค่ายอื่น ๆ ถูกก่อตั้งขึ้นติดต่อกับโรงงานผลิตเครื่องบิน เหมืองถ่านหิน หรือเครื่องจักรผลิตเชื้อเพลิงจรวด สภาพแวดล้อมของนักโทษเลวร้ายมากและนักโทษมักจะถูกมีการส่งตัวนักโทษไปยังห้องรมแก๊สหรือถูกสังหาร หากพวกเขาทำงานได้ไม่รวดเร็วพอ
 
หลังจากการพิจารณาหลายครั้ง การประกาศชะตากรรมสุดท้ายของนักโทษชาวยิว ("[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย]]") ถูกประกาศในปี ค.ศ. 1942 ณ [[ที่ประชุมวันน์เซ]] ไปถึงเจ้าหน้าที่ระดับสูง
 
เมื่อสงครามใกล้ยุติ ค่ายกักกันได้กลายมาเป็นแหล่งทดลองทางการแพทย์ การทดลองวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์ การแช่แข็งนักโทษเพื่อทดสอบผลกระทบที่มีต่อนักบิน และการทดลองและยาเพื่อการสังหารจะถูกทดลองปรากฎในค่ายกักกันหลายแห่ง นักโทษสตรีมักถูกข่มขืนและทำให้ขายหน้าเป็นกิจวัตรในค่ายกักกัน<ref>Morrissette, Alana M.: ''[http://www.jhcwc.org/morrissette2004.pdf The Experiences of Women During the Holocaust]'', p. 7.</ref>
 
[[ไฟล์:Gen Eisenhower at death camp report crop.jpg|thumb|275px|right|พลเอก [[ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์]] กำลังสืบสวนศพของนักโทษ ณ ค่ายแรงงานโฮร์ดรุฟ ค.ศ. 1945]]
เส้น 34 ⟶ 33:
=== การปลดปล่อย ===
 
ค่ายกักกันหลายนี้ถูกได้รับการปลดปล่อยโดย[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] ระหว่าง ค.ศ. 1943 และ ค.ศ. 1945 ซึ่งมักจะสายเกินไปที่กว่าจะช่วยสามารถช่วยเหลือนักโทษที่เหลืออยู่ ยกตัวอย่างเช่นอาทิ เมื่อกองกำลังสหราชอาณาจักรเข้าสู่ค่ายกักกันเบอร์เกน-เบลเซน ในปี ค.ศ. 1945 ทหารพบว่านักโทษ 60,000 คนถูกพบว่ามีชีวิตอยู่ แต่นักโทษกว่า 10,000 คน เสียชีวิตในสัปดาห์เดียวกันเนื่องจากไข้รากสาดใหญ่และการขาดอาหาร
 
== ประเภทของค่าย ==