ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเอกปฏิลักษณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 4:
ในยุคใหม่ ฮีโร จะมีความสลับซับซ้อนด้านพฤติกรรมเพิ่มขึ้นมาก ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ผู้เขียนบทอย่าง แซมูเอล เบกเกตและทอม สตอปพาร์ด ได้แสดงให้เห็นตัวเอกแบบแอนตีฮีโร ที่ขาดอัตลักษณ์และความมุ่งมั่น เรื่องสั้นและเรื่องราวสืบสวนแนวนัวร์ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 อย่างตัวละครเช่น [[แซม สเปด]] ที่เป็นตัวละครที่ขาดความเปล่งปลั่งและรูปลักษณ์ของความเป็นฮีโร ก็เป็นที่โด่งดังขึ้นมา ในหนังสือการ์ตูนยุคแรกก็มีตัวละครในลักษณะแอนตีฮีโรอย่างเช่น [[แบทแมน]] (ที่มีความลึกลับ แตกต่างจากฮีโรที่เปิดเผยอย่าง [[ซูเปอร์แมน]]) และ[[เนเมอร์]] (ที่ต้องการเพียงแค่ความเป็นมนุษย์)<ref>[http://goodcomics.comicbookresources.com/2007/07/30/365-reasons-to-love-comics-211/ Comics Should Be Good! » 365 Reasons to Love Comics #211<!-- Bot generated title -->]</ref> ส่วนตัวละครแอนตีฮีโรที่แพร่หลายที่สุดของ[[มาร์เวล]] อาจพูดได้ว่าคือ [[พูนิเชอร์]] ที่มีมากกว่าความตั้งใจที่จะฆ่าใครที่เขาเห็นว่าสมควรตาย
 
ความนิยมในตัวละครแอนตีฮีโรยังคงมีต่อไปในบทประัพันธ์สมัยใหม่บทประพันธ์สมัยใหม่ อาจเป็นเพราะเพื่อกระตุ้นสิ่งที่เต็มไปด้วยปัญหาและความบอบบางของมนุษย์ แตกต่างจากแม่แบบของคาวบอยหมวกขาวและวีรชน และเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มผู้อ่าน ผู้ดูได้มากขึ้น ความนิยมนี้เป็นตัวชี้บอกการปฏิเสธค่านิยมล้ำหน้าหลังจากวิวัฒนาการของวัฒนธรรมต่อต้านในคริสต์ทศวรรษ 1960<ref>{{cite journal| author=Erickson, Leslie| title=The Search for Self: Everyday Heroes and an Integral Re-Visioning of the Heroic Journey in Postmodern Literature and Popular Culture | journal=Ph. D Dissertation| year=2004| volume=University of Nebraska}} .</ref>
 
ในยุคใหม่ คุณลักษณะของฮีโร่ เหมือนกับในรูปแบบของ "อัศวินพิทักษ์ใจ" (Knight-errant) ที่มีความกล้าหาญอย่างแท้จริงในชีวิตและมีอำนาจที่ชอบธรรม ส่วนนักฆ่าพิทักษ์กฎหมาย (อาชญากรผู้โด่งดัง) ที่ดูลึกลับ ก็เป็นต้นแบบของตัวละครอย่าง แบทแมน หรือ ใน[[เดอร์ตีแฮร์รี]] ก็ค่อย ๆ กลายมาเป็นแนวความคิดของผู้กล้าที่ได้รับความนิยม<ref>{{cite journal| author=Lawall G,| title=Apollonius' Argonautica. Jason as anti-hero| journal=Yale Classical Studies| year=1966| volume=19| pages= 119–169}}</ref>