ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สติปัฏฐาน 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
ธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การพิจารณาสัญญาขันธ์และสังขารขันธ์ อานิสงค์ คือ ทำลายอนัตตวิปลาส (ความไม่มีตัวตนว่ามีตัวตน) เหมาะสมกับนักปฏิบัติที่เป็นทิฏฐิจริตทั้ง 3 คือศรัทธาจริต พุทธิจริต วิตกจริต และเป็นวิปัสสนายานิก คือมีศรัทธาพละ ปัญญาพละ'''เหนือกว่า'''วิริยะพละ สมาธิพละ ด้วยการเพิ่มกำลังศรัทธาพละ ปัญญาพละให้สมบูรณ์ "''ดังนี้
 
'''ข้อนั้น ไม่สมกับพระไตรปิฎก เพราะคำว่า สมถะยานิก ไม่ได้หมายถึง ความมีสมาธิมากหรือน้อย, แต่กล่าวถึง ผู้ที่ใช้สมถะนำเพราะเหมาะแก่ตน ซึ่งบุคคลคนๆนั้น อาจมีสมาธิมาก หรือน้อยก็ได้ มีมากก็เช่นในทิฏฐิวิสุทธินิทเทส มีน้อยก็ตามเนตติปกรณ์และสติปัฏฐานสูตร. จริงอย่างนั้น ในทิฏฐิวิสุทธินิทเทส ท่านกล่าวสมถะยานิกไว้ในฐานะที่มีสมาธิมาก, ส่วนในเนตติปกรณ์และสติปัฏฐานสูตร เป็นต้น ท่านกล่าวไว้ในฐานะที่เหมาะกับตัณหาจริต เพราะเป็นสภาพที่เป็นปฏิปักษ์กัน จึงเหมาะแก่การกำจัดจริตฝ่ายชั่วนั้นๆ. แต่ท่านไม่ได้หมายถึง การที่พระสมถะยานิก มีโพชฌงค์ฝ่ายสมาธิมากในที่นั้นเลย มีแต่ในวิสุทธิมรรค ซึ่งคนละนัยยะกับสติปัฏฐานสูตร มตินั้น จึงเป็นเพียงแต่อาจารย์นั้นๆคิดขึ้นเท่านั้น เทียบเนตติหามิได้'''
 
 
บรรทัด 34:
 
อนึ่ง ความหมายนี้ในพระ[[ไตรปิฎก]]ใช้เพียงคำว่า '''สติปัฏฐาน''' เท่านั้น ส่วนคำว่า '''[[มหาสติปัฏฐาน]]''' นั้นมีใช้เป็นชื่อพระสูตรเท่านั้น ไม่มีใช้ในความหมายนี้โดยตรง.
 
 
 
== อ้างอิง ==