ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรสิทธัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Abc root (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:Ajikam.jpg‎|thumb|อักษรสิทธัม อะ ที่ชาวพุทธนิกายชินงอนในญี่ปุ่นนับถือว่าเป็นอักขระอันศักดิ์สิทธิ์ ]]'''อักษรสิทธัม''' (Siddham script)([[ภาษาสันสกฤต]] : सिद्धम् หมายถึง ทำให้สำเร็จหรือสมบูรณ์แล้ว, [[ญี่ปุ่น]] : 梵字[บอนจิ]) เป็นชื่อ[[อักษร]]แบบหนึ่งของ[[อินเดียตอนเหนือ]] ที่นิยมใช้เขียน[[ภาษาสันสกฤต]] มีที่มาจาก[[อักษรพราหมี]] โดยผ่านการพัฒนาจาก[[อักษรคุปตะ]] ซึ่งก่อให้เกิดเป็น[[อักษรเทวนาครี]]ในเวลาต่อมา และเกิดเป็นอักษรอื่นๆ จำนวนมากใน[[เอเชีย]] เช่น [[อักษรทิเบต]] เป็นต้น อักษรสิทธัมเผยแพร่พร้อมคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจากอินเดียเข้าไปสู่จีนและญี่ปุ่นตามลำดับ ตั้งแต่ พ.ศ. 1349 โดยกูไก ผู้เรียนภาษาสันสกฤตและศาสนาพุทธไปจากจีน ในญี่ปุ่นเรียกอักษรนี้ว่า บอนจิ เขียนจากซ้ายไปขวา แนวนอน ปัจจุบันอักษรสิทธัมยังคงใช้ในการประกอบพิธีกรรมของนิกายชินงอน (มนตรยาน) ในประเทศญี่ปุ่น