ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิฟต์อวกาศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Amirobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:آسانسور فضایی
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:Space elevator structural diagram.png|200px|thumb|ลิฟต์อวกาศประกอบด้วยสายเคเบิล ยึดปลายด้านหนึ่งอยู่ที่ผิวโลก ปลายอีกด้านหนึ่งอยู่ในอวกาศ โดยมีน้ำหนักถ่วงที่ปลายเพื่อให้เคเบิลมีแรงตึงตลอดเวลา]]
 
'''ลิฟต์อวกาศ''' ''(space elevator)'' เป็น[[สิ่งก่อสร้าง]]ขนาดใหญ่ ที่มีการเสนอให้สร้าง เพื่อใช้ใน[[การขนส่ง]][[วัสดุ]]จาก[[พิ้นผิวโลก]]ขึ้นไปใน[[อวกาศ]] รูปแบบที่มีการนำเสนอมักเป็นโครงสร้าง สร้างต่อเนื่องจากผิวโลก ขึ้นไปยัง[[วงโคจรค้างฟ้า]] และสร้างต่อเนื่องออกไป โดยมี[[ตุ้มน้ำหนัก]]ถ่วงที่ปลายอีกด้านหนึ่ง วัสดุที่มีการเสนอให้ใช้ มีลักษณะเป็นเคเบิล หรือแถบรับน้ำหนัก ที่สามารถรับกำลังได้สูง โดยทำเลที่ตั้งโครงสร้างจะอยู่บริเวณแถบ[[เส้นศูนย์สูตร]]
บรรทัด 8:
ในปี [[พ.ศ. 2503]] [[วิศวกร]]ชาวรัสเซียชื่อ [[ยูริ อาตซูตานอฟ]] (Yuri Artsutanov) ได้เขียนบทความตีพิมพ์ในวารสาร Komso Molskaya Pravda เกี่ยวกับการสร้าง "รถลาก" ขึ้นสู่อวกาศ ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2509]] นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ได้ร่วมกันเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการใช้สายเคเบิลยึดโยง [[ดาวเทียม]] ในบทความชื่อ "Satellite Elongation into a True 'Sky-Hook'" ตีพิมพ์ในนิตยสาร Science <ref name="ชัยคุปต์"/>
 
[[ภาพไฟล์:Tsiolkovsky.jpg|คอนสแตนติน โซลคอฟสกี|thumb]]
ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ชื่อ [[เจอโรม เพียร์สัน]] (Jerome Pearson) ได้ตีพิมพ์บทความชื่อ "The Orbital Tower: A Spacecraft Launcher Using the Earth's Rotational Energy" นำเสนอโครงสร้างเป็น[[ท่อ]] 2 ท่อเชื่อมต่อระหว่าง[[โลก]]กับ[[สถานีอวกาศ]] ภายในบรรจุ[[ลิฟต์]] ท่อหนึ่งสำหรับใช้ในขาขึ้น ท่อหนึ่งสำหรับใช้ในขาลง เพียร์สันตีพิมพ์บทความของเขาในวารสาร Acta Astronautica ฉบับเดือนกันยายน พ.ศ. 2518 <ref name="ชัยคุปต์"/>