18,833
การแก้ไข
ล (โรบอต เพิ่ม: el:Ανρί Μπεκερέλ) |
ล |
||
<!--ชื่อตัวของเขาอยู่ที่ชื่อกลาง และวิกิพีเดียอังกฤษใช้ชื่อนี้จึงนำมาเป็นชื่อบทความ-->
[[
'''อองตวน อองรี เบ็กเกอเรล''' ({{lang-fr|Antoine Henri Becquerel}}) ([[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2395]]
== ชีวิตส่วนตัว ==
== ชีวิตการงาน และงานวิจัยที่สำคัญ ==
[[
ในปี พ.ศ. 2435 อองรีได้เป็นคนที่สามในตระกูลเบ็กเกอเรล ที่ได้เป็นภัณฑารักษ์ส่วนฟิสิกส์ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติฝรั่งเศส (Muséum National d'Histoire Naturelle) อีกสองปีให้หลัง เขาได้รับตำแหน่งหัวหน้านายช่างประจำกรมการสะพานและทางหลวง
นับจากที่ได้รับตำแหน่งหัวหน้านายช่าง 2 ปี อองรีได้ศึกษาการเรืองแสงอย่างช้า (phosphorescence) ในเกลือ[[ยูเรเนียม]] จนเขาได้พบ[[กัมมันตรังสี]]เข้าโดยบังเอิญ โดยเขาได้วางโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต ซึ่งตกทอดมาจากพ่อของเขา ไว้บนฟิล์มถ่ายรูปและวัสดุดำ จากนั้นนำไปตั้งไว้กลางแดด โดยเขาได้อธิบาย ณ ที่ประชุมวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส มีใจความดังนี้
{{คำพูด|เมื่อหุ้มฟิล์มถ่ายรูปลูมิแยร์ด้วยกระดาษดำหนา ๆ ซึ่งมีสารพวก[[โบรมีน|โบรไมด์]]คั่นอยู่ ฟิล์มนั้นจะไม่มีลายหมอก แม้ตั้งไว้กลางแดดจ้า เมื่อวางสารนั้น (โพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต) บนกระดาษซึ่งทับห่อนั้น จากนั้นนำไปวางไว้กลางแดด แล้วเอาฟิล์มนั้นมาล้าง จะพบว่ามีลายหมอกเป็นสีดำบนภาพเนกะทีฟ (ภาพที่ยังไม่ได้อัด) เมื่อใดที่เอาวัตถุอื่นใดปกปิดสารนั้น แล้วทดลอง ก็ปรากฏรูปวัตถุนั้น ๆ บนฟิล์ม...ดังนั้นจึงสรุปว่า สารนั้นมีกัมมันตรังสีจริง รังสีนั้นผ่านทะลุ[[กระดาษ]]หนา ๆ ได้ และรีดิวซ์[[เงิน]]ได้<ref>Comptes Rendus 122, 420 (1896), [http://web.lemoyne.edu/~giunta/becquerel.html แปลโดย Carmen Giunta.] เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2550</ref>}}
จากการค้นพบนี้เอง ทำให้อองรีได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับสองสามีภรรยาตระกูลกูรี ในปี พ.ศ. 2446
|