ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบพิกัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพไฟล์:Cartesian-coordinate-system.svg|thumb|ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสองมิติ]]
[[ภาพไฟล์:Rectangular coordinates.svg|thumb|ระบบพิกัดคาร์ทีเซียนสามมิติ]]
'''พิกัด''' หมายถึง ค่าของ[[ตัวเลข]]ที่ใช้อธิบายตำแหน่งของ[[จุด]]บน[[ระนาบ]]หรือ[[ปริภูมิ]] ตัวอย่างเช่น ระดับความสูงจากน้ำทะเลก็เป็นพิกัดอย่างหนึ่งที่อธิบายตำแหน่งของจุดเหนือระดับพื้นผิว[[โลก]] ส่วน[[ระบบพิกัด]]คือวิธีการอย่างเป็น[[ระบบ]]ที่มีการให้ค่า[[คู่อันดับ]]หรือ[[สามสิ่งอันดับ]]แทนตำแหน่งของแต่ละจุดบนระนาบหรือปริภูมิ ซึ่งคู่อันดับหรือสามสิ่งอันดับหนึ่งชุดจะหมายถึงตำแหน่งเพียงตำแหน่งเดียวเท่านั้น ดังตัวอย่าง สามสิ่งอันดับที่ประกอบด้วย [[ละติจูด]] [[ลองจิจูด]] และ[[อัลติจูด]] (ระดับความสูง) เป็นระบบพิกัดที่ใช้ระบุตำแหน่งของจุดเหนือพื้นผิวโลก
 
บรรทัด 23:
 
=== พิกัดวงกลม ===
[[ภาพไฟล์:Coordonnees polaires plan.svg|thumb|ระบบพิกัดวงกลม แกนเชิงขั้ว L สามารถเปรียบได้เป็นแกน ''x'' ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียน]]
: ''ดูบทความหลักที่ [[ระบบพิกัดเชิงขั้ว]]''
ระบบพิกัดวงกลม เป็นระบบพิกัดเชิงขั้วในสองมิติ นิยามโดยจุดกำเนิด O และ[[รังสี]] L (ส่วนของเส้นตรงที่มีปลายเปิดหนึ่งข้าง) ที่ออกมาจากจุดกำเนิด ซึ่ง L อาจเรียกได้ว่าเป็น ''แกนเชิงขั้ว'' ในพจน์ของระบบพิกัดคาร์ทีเซียน เราสามารถเลือกจุด (0, 0) มาเป็นจุดกำเนิด O และรังสี L จะอยู่บนแกน ''x'' ที่เป็นบวก (ครึ่งส่วนทางขวาของแกน ''x'')
บรรทัด 45:
 
=== พิกัดทรงกระบอก ===
[[ภาพไฟล์:Cylindrical coordinates2.svg|thumb|ระบบพิกัดทรงกระบอก]]
: ''ดูบทความหลักที่ [[ระบบพิกัดทรงกระบอก]]''
ระบบพิกัดทรงกระบอก เป็นระบบพิกัดเชิงขั้วในสามมิติ จุด P ใดๆ บนระบบพิกัดนี้สามารถนำเสนอด้วยสามสิ่งอันดับ (''r'', ''θ'', ''h'') ในพจน์ของระบบพิกัดคาร์ทีเซียนว่า
บรรทัด 58:
 
=== พิกัดทรงกลม ===
[[ภาพไฟล์:Spherical Coordinates.svg|thumb|ระบบพิกัดทรงกลม]]
: ''ดูบทความหลักที่ [[ระบบพิกัดทรงกลม]]''
ระบบพิกัดทรงกลม เป็นระบบพิกัดเชิงขั้วในสามมิติ จุด P ใดๆ บนระบบพิกัดนี้สามารถนำเสนอด้วยสามสิ่งอันดับ (''ρ'', ''φ'', ''θ'') หรือ (''ρ'', ''θ'', ''φ'') ในพจน์ของระบบพิกัดคาร์ทีเซียนว่า