ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชีวกลศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Biomecànica
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
บรรทัด 40:
 
*''จุดศูนย์ถ่วงของร่างกาย'' (Center of gravity หรือ CoG หรือ CG) คือ จุดศูนย์กลางสมมติของวัตถุหรือร่างกายมนุษย์ ที่ถูกแรงโน้มถ่วงกระทำ ซึ่งเป็นจุดสมมติที่แทนถึงน้ำหนักตัวทั้งหมด ซึ่งในทางฟิสิกส์ คำว่า “จุดศูนย์กลางของมวล” และ “จุดศูนย์ถ่วง”นั้น มีความหมายแตกต่างกันดังกล่าวข้างต้น แต่โดยทั่วไปมักอนุโลมใช้แทนกันได้ หากเป็นการศึกษาถึงวัตถุหรือมนุษย์ที่อยู่ในอาณาเขตของโลก '''มนุษย์ในท่ายืนตรงจุดศูนย์ถ่วงจะอยู่ที่หน้าต่อกระดูกสันหลังส่วนก้นกบอันที่ 2 (the second sacral vertebral bone หรือเรียกง่ายๆว่า S2) ประมาณ 1-2 ซม.''' และระหว่างการเดินปรกติจุดศูนย์ถ่วงจะเคลื่อนไหวขึ้นบน-ลงล่าง-ซ้ายและขวาไม่เกิน 1 นิ้วจากจุดปรกติ หากเกินกว่านี้จะใช้พลังงานในการเดินมากขึ้น
[[ภาพไฟล์:01.png|thumb|right|จุดศูนย์กลางมวลในวัตถุสมมาตร แต่ร่างกายคนไม่ได้มีรูปร่างสมมาตรเช่นนี้]]
*''สแตติค'' (Static) คือ สภาพขณะที่อยู่นิ่ง ไม่มีการเคลื่อนไหว
 
บรรทัด 52:
**''ระนาบขนานกับพื้นโลก'' เป็นระนาบสมมติที่มีแกนวิ่งตัดขวางกับลำตัว บางครั้งจึงเรียกว่า “ระนาบตัดขวาง” ระนาบนี้ จะแบ่งร่างกายหรืออวัยวะเป็นส่วนบนและส่วนล่าง โดยมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า “ระนาบฮอริซอนทัล” (Horizontal plane) หรือ “ระนาบทรานสเวิร์ส” (Transverse plane)
 
[[ภาพไฟล์:03.png|thumb|right|หากความสูงของจุดศูนย์ถ่วงเพิ่มขึ้น(ขวา) ความมั่นคงจะลดลง]]
*''รูปแบบการเคลื่อนไหวร่างกายปรกติ'' (Normal gait pattern) คือ รูปแบบการเดินหรือการเคลื่อนไหวที่คนส่วนใหญ่ใช้ ซึ่งรูปแบบนี้จะทำให้เดินได้ระยะทางที่ต้องการโดยเสียพลังงานไปน้อยที่สุด
 
[[ภาพไฟล์:04.png|thumb|right|น้ำหนักของมวลที่เพิ่มขึ้น (ขวา) ทำให้ความมั่นคงลดลง]]
[[ภาพไฟล์:05.png|thumb|right|พื้นที่ฐานรองรับที่แคบกว่า (ขวา) ส่งผลให้วัตถุไม่ค่อยมั่นคง]]
*''ความมั่นคงของร่างกาย'' (Stability)คือการที่มนุษย์สามารถคงท่าทางเอาไว้ได้ โดยที่ไม่ล้มลงไป เช่น สามารถยืนตัวตรงได้โดยที่ไม่ล้มลง สามารถนั่งได้โดยไม่ล้ม เป็นต้น ซึ่งประกอบไปด้วยหลายปัจจัย อาทิ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความสามารถของระบบประสาท และปัจจัยต่างๆทางชีวกลศาสตร์ เป็นต้น ซึ่งสำหรับปัจจัยทางชีวกลศาสตร์ที่สำคัญ ซึ่งทำให้ร่างกายมนุษย์สามารถคงความมั่นคงของร่างกายเอาไว้ได้ ได้แก่
 
บรรทัด 66:
*''การศึกษาเรื่องคาน โมเม้นต์และการเคลื่อนที่ของวัตถุรอบจุดศูนย์กลางการเคลื่อนไหวซึ่งเป็นผลจากแรงนั้น '' มีประโยชน์ในการดัดแปลงอุปกรณ์ต่างๆทางการแพทย์เช่น ขาเทียม แขนเทียม เครื่องประคองต่างๆ เป็นต้น การรักษาโดยการดัดข้อต่อ การฝึกเดิน ฯลฯ และมีประโยชน์ในการเพิ่มสมรรถภาพของนักกีฬาอีกด้วย
[[ภาพไฟล์:06.png|thumb|right|ตัวอย่างการแก้ไขภาวะผิดรูปของกระดูกและข้อต่อโดยใช้หลักการแรงกด 3 จุด (3-point pressure system)]]
 
== อ้างอิง ==