ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความหนืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: el:Ιξώδες
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
บรรทัด 11:
{{กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง}}
'''ความหนืด''' คือค่าบ่งชี้คุณสมบัติ[[ความต้านทาน]]การไหลในตัว[[ของไหล]] ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนรูปจากการกระทำของ[[ความเค้นเฉือน]]หรือความเค้นภายนอก ความหนืดนี้อธิบายถึงความสามารถในการต้านทานการไหลภายในตัวของไหล และอาจจะถูกพิจารณาให้เป็นตัวชี้วัด[[ความเสียดทาน]]ของไหลได้ ยิ่งของไหลมีความหนืดต่ำมากเท่าไร มันก็จะยิ่งมีความสามรถในการเปลี่ยนรูปได้มากเท่านั้นสำหรับคำเรียกใช้โดยทั่วไป อาจจะใช้คำว่า "ความหนา" ตัวอย่างเช่น น้ำ ที่มีความหนืดต่ำอาจจะถูกเรียกว่า "บาง" ในขณะที่น้ำผึ้งซึ่งมีความหนืดสูงนั้นอาจจะถูกเรียกว่า "หนา" สำหรับของไหลในความเป็นจริงนั้น (ยกเว้น ซูเปอร์ฟลูอิด) จะมีค่าความหนืดในตัว แต่อย่างไรก็ตาม ในทางอุดมคติ ของไหลอาจจะถุกสมมติให้ไร้ความหนืด เรียกว่า '''ของไหลในอุดมคติ''' หรือ '''ของไหลไร้ความหนืด''' สำหรับวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับของไหลคือ [[:en:Rheology|วิทยาศาสตร์การไหล]]
[[ภาพไฟล์:Viscosity.gif|thumb|left|ภาพประกอบอธิบายความหนืด ของเหลวสีเขียวทางซ้ายมีความหนืดสูงกว่าของเหลวใสทางขวา]]
== ที่มาของคำ ==