ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่อันตราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Brandy Frisky (คุย | ส่วนร่วม)
Nacres (คุย | ส่วนร่วม)
→‎พื้นที่ที่มีก๊าซ: ยังอีกยาว แต่ต้องไปแล้วครับ
บรรทัด 50:
== พื้นที่ที่มีก๊าซ ==
 
ก๊าซ ไอระเหยและฝุ่นที่ไวไฟมีคุณสมบัติทางเคมีที่ต่างกันที่ส่งผลต่อโอกาสและความรุนแรงของระเบิดที่ไม่เหมือนกัน คุณสมบัติเหล่านั้นประกอบด้วยอุณหภูมิเปลวไฟ ([[:en:flame point|Flame Point]]) พลังงานต่ำสุดที่ใช้ในการติดไฟ ขอบเขตสูงสุด/ต่ำสุดในการระเบิด และน้ำหนักโมเลกุล การทดสอบด้วยการสังเกตุ ([[:en:empirical|Empirical testing]]) จะถูกกระทำเพื่อพิจารณาตัวแปรอย่างเช่น ระยะห่างปลอดภัยที่สุดในการทดลอง (maximum experimental safe gap) กระแสติดไฟต่ำสุด (minimum ignition current) ความดันการระเบิด (explosion pressure) และเวลาที่ใช้ในการเข้าสู่ความดันสูงสุด (time to peak pressure) อุณหภูมิจุดระเบิดตามธรรมชาติ (spontaneous ignition iemperature) และอัตราการเพิ่มความดันสูงสุด (maximum rate of pressure rise) ถึงแม้ว่าสสารทุกชนิดมีคุณสมบัติในการระเบิดที่แตกต่างกัน แต่พวกมันสามารถถูกจัดลำดับในช่วงที่คล้ายคลึงกันซึ่งทำให้ง่ายต่อการเลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับใช้ในพื้นที่อันตราย<ref name=Bossert86> John Bossert and Randolph Hurst, ''Hazardous Locations A Guide for the Design, Construction and Installation of Electrical Equipment'', Canadian Standards Association, Toronto 1986 ISBN 0-9690124-5-4, Chapter 9
</ref>
 
ความสามารถในการติดไฟของ[[ของเหลว]]ไวไฟถูกจำแนกได้โดยจุดวาบไฟ ([[:en:flash point|flash point]])ของมัน ดดยจุดวาบไฟหมายถึงอุณหภูมิที่วัสดุสามารถก่อไอระเหยที่มีความสามารถเพียงพอที่จะก่อให้เกิดส่วนผสมที่จุดไฟได้<ref group ="note">หมายถึงการที่ไอระเหยของสสารผสมกับอากาศ แล้วมีความสามารถที่จะก่อให้เกิดเปลวไฟได้ ณ สภาวะนี้ ถ้านำเอาเปลวไฟไปล่อ จะทำให้เกิดการติดไฟเป็นห้วง ๆ</ref>
 
{{โครงส่วน}}