ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักชีลาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: bs:Kopar
บรรทัด 21:
[[หมวดหมู่:ผัก]]
{{โครงพืช}}
 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anethum graveolens Linn.
 
ชื่อวงศ์ : Umbelliferae
 
ชื่อสามัญ : Dill
 
ชื่อพื้นเมือง : เทียนข้าวเปลือก ,เทียนตาตั๊กแตน (ภาคกลาง), ผักชี (ขอนแก่น,เลย) ผักชีตั๊กแตน, ผักชีเทียน (พิจิตร), ผักชีเมือง(น่าน)
 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ผักชีลาวเป็นพืชล้มลุกตระกูลเดียวกับผักชี ลำต้นมีสีเขียวเข้มขนาดเล็ก ลักษณะใบเป็นใบประกอบแบบขนนกมีสีเขียวสดออกเรียงสลับกัน ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองออกเป็นช่อ ก้านช่อดอกมีลักษณะคล้ายกับซี่ร่ม ผลแก่เป็นรูปไข่แบนมีสีน้ำตาลอมเหลือง ถ้านำไปใช้เป็นเครื่องเทศจะเก้บได้ก้ต่อเมื่อดอกเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แต่ส่วนใหญ่จะพบในรูปของการทานสดเป็นผักมากกว่า ซึ่งควรเก็บก่อนที่จะออกดอก ผักชีลาวมีสองชนิด คือ ชนิดที่มาจากยุโรป (Dill) และชนิดที่มีกำเนิดในเอเชียเขตร้อน (Indian Dill) ในประเทศไทยมีการปลูกเพื่อใช้ทานเป็นผักมากกว่าปลูกเพื่อใช้ผลมาทำเครื่องเทศเพราะมีคุณภาพน้อยกว่าประเทศอินเดีย
 
การขยายพันธุ์ : ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
 
ระยะเวลาปลูก : มีระยะเวลาในการปลูกประมาณ 60 วัน ก็สามารถนำมาประกอบอาหารหรือกินสดๆ ก็ได้
 
การเตรียมดินในการปลูก :
มีการฟื้นดิน ตากแดดให้แห้งเพื่อทำลายเชื้อโรคและวัชพืชที่อยู่ในดิน ทิ้งไว้ประมาณ 10 วัน หลังจากนั้นก็ทำการ พรวนดิน เก็บเศษวัชพืชต่างๆ และนำปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วมาใส่คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ทั้งนี้เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน ถ้าพบว่าดินเป็นกรด ควรนำปูนขาวมาคลุกกับดินเพื่อปรับสภาพของดินให้เหมาะในการเพาะปลูก
 
วิธีปลูก : มี 2 วิธี
วิธีที่ 1 เตรียมเมล็ดพันธุ์ที่จะใช้ในการปลูก แล้วหว่านเมล็ดพันธุ์ให้ทั่วแปลง
 
วิธีที่ 2 วัดระยะห่างของหลุมประมาณ 15 x 15 เซนติเมตร ใช้ไม้ขีดเป็นตารางให้เท่าๆ กัน ใช้ไม้หรือนิ้วจิ้ม แล้ว หยอดเมล็ดลงตามตารางที่ขีดไว้ เสร็จแล้วจึงใช้ดินกบแล้วรดน้ำด้วยบัวรดน้ำ
 
สารสำคัญที่พบ :
 
ผลผักชีลาวมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งปริมาณน้ำมันที่ได้ขึ้นอยู่กับแหล่งเพาะปลูกและฤดูกาลที่เก็บเกี่ยว นอกจากนี้แล้วยังประกอบด้วย
สารดิลลาโนไซด์ สารประเภทกรดฟีโนลิค โปรตีน ไขมัน เป็นต้น
 
น้ำมันผักชีลาว (Dill seed oil) ได้จากการนำผลแก่แห้งไปกลั่นด้วยไอน้ำ สารสำคัญที่พบคือ คารืโวน ดี-ไลโมนีน และอัลฟ่า-เฟลเลนดรีน สารอื่นที่มีปริมาณรองลงมาคือ ไดไฮโดรคาร์โวน ยูจีนอล ไพนีน และอะนีโทล เป็นต้น
 
สรรพคุณทางยา :
นำผลแก่แห้งของผักชีลาวบดให้เป็นผง ชงกับน้ำดื่มวันละ 4-5 แก้ว แก้อาการปวดท้อง แน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับลมหรือใช้ต้นสดของผักชีลาวผสมกับนมให้เด็กอ่อนดื่มแก้ท้องอืดท้องเฟ้อได้เช่นกัน ส่วนน้ำมันมักใช้ผสมในยาย่อยอาหาร ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
 
ประโยชน์ทางอาหาร :
ใบสดและใบแห้งใช้โรยบนอาหารประเภทปลาเพื่อดับกลิ่นคาว ใบใส่แกงอ่อมแกงหน่อไม้ห่อหมกแกล้มแกงเนื้อน้ำพริกปลาร้าผักใส่ไข่ยอดใบรับประทานกับลาบเมล็ด และใบช่วยชูรสเมล็ดมีน้ำมันหอมระเหยใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เมล็ดแห้งที่แก่เต็มที่ใช้เป็นยาบำรุงกำลังชั่วคราวและขับลมในท้อง เมล็ดก่อนนำมาประกอบอาหารควรบดก่อน โดยนิยมโรยบนสลัดผักและมันฝรั่งบดเพื่อเพิ่มรสชาติ นอกจากนี้น้ำมันผักชีลาวยังใช้แต่งกลิ่นผักดอง น้ำซอส สตู ขนมหวาน เครื่องดื่มและเหล้า
 
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร : ต้นสด ใบสด ใบแห้ง ผลแห้ง
 
[[ar:شبت]]
เส้น 26 ⟶ 64:
[[bat-smg:Kraps]]
[[bg:Копър]]
[[bs:KoperKopar]]
[[ca:Anet]]
[[cs:Kopr vonný]]
เส้น 73 ⟶ 111:
[[wo:Anet]]
[[zh:蒔蘿]]
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anethum graveolens Linn.
 
ชื่อวงศ์ : Umbelliferae
 
ชื่อสามัญ : Dill
 
ชื่อพื้นเมือง : เทียนข้าวเปลือก ,เทียนตาตั๊กแตน (ภาคกลาง), ผักชี (ขอนแก่น,เลย) ผักชีตั๊กแตน, ผักชีเทียน (พิจิตร), ผักชีเมือง(น่าน)
 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ผักชีลาวเป็นพืชล้มลุกตระกูลเดียวกับผักชี ลำต้นมีสีเขียวเข้มขนาดเล็ก ลักษณะใบเป็นใบประกอบแบบขนนกมีสีเขียวสดออกเรียงสลับกัน ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองออกเป็นช่อ ก้านช่อดอกมีลักษณะคล้ายกับซี่ร่ม ผลแก่เป็นรูปไข่แบนมีสีน้ำตาลอมเหลือง ถ้านำไปใช้เป็นเครื่องเทศจะเก้บได้ก้ต่อเมื่อดอกเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แต่ส่วนใหญ่จะพบในรูปของการทานสดเป็นผักมากกว่า ซึ่งควรเก็บก่อนที่จะออกดอก ผักชีลาวมีสองชนิด คือ ชนิดที่มาจากยุโรป (Dill) และชนิดที่มีกำเนิดในเอเชียเขตร้อน (Indian Dill) ในประเทศไทยมีการปลูกเพื่อใช้ทานเป็นผักมากกว่าปลูกเพื่อใช้ผลมาทำเครื่องเทศเพราะมีคุณภาพน้อยกว่าประเทศอินเดีย
 
การขยายพันธุ์ : ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
 
ระยะเวลาปลูก : มีระยะเวลาในการปลูกประมาณ 60 วัน ก็สามารถนำมาประกอบอาหารหรือกินสดๆ ก็ได้
 
การเตรียมดินในการปลูก :
มีการฟื้นดิน ตากแดดให้แห้งเพื่อทำลายเชื้อโรคและวัชพืชที่อยู่ในดิน ทิ้งไว้ประมาณ 10 วัน หลังจากนั้นก็ทำการ พรวนดิน เก็บเศษวัชพืชต่างๆ และนำปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วมาใส่คลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ทั้งนี้เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน ถ้าพบว่าดินเป็นกรด ควรนำปูนขาวมาคลุกกับดินเพื่อปรับสภาพของดินให้เหมาะในการเพาะปลูก
 
วิธีปลูก : มี 2 วิธี
วิธีที่ 1 เตรียมเมล็ดพันธุ์ที่จะใช้ในการปลูก แล้วหว่านเมล็ดพันธุ์ให้ทั่วแปลง
 
วิธีที่ 2 วัดระยะห่างของหลุมประมาณ 15 x 15 เซนติเมตร ใช้ไม้ขีดเป็นตารางให้เท่าๆ กัน ใช้ไม้หรือนิ้วจิ้ม แล้ว หยอดเมล็ดลงตามตารางที่ขีดไว้ เสร็จแล้วจึงใช้ดินกบแล้วรดน้ำด้วยบัวรดน้ำ
 
สารสำคัญที่พบ :
 
ผลผักชีลาวมีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งปริมาณน้ำมันที่ได้ขึ้นอยู่กับแหล่งเพาะปลูกและฤดูกาลที่เก็บเกี่ยว นอกจากนี้แล้วยังประกอบด้วย
สารดิลลาโนไซด์ สารประเภทกรดฟีโนลิค โปรตีน ไขมัน เป็นต้น
 
น้ำมันผักชีลาว (Dill seed oil) ได้จากการนำผลแก่แห้งไปกลั่นด้วยไอน้ำ สารสำคัญที่พบคือ คารืโวน ดี-ไลโมนีน และอัลฟ่า-เฟลเลนดรีน สารอื่นที่มีปริมาณรองลงมาคือ ไดไฮโดรคาร์โวน ยูจีนอล ไพนีน และอะนีโทล เป็นต้น
 
สรรพคุณทางยา :
นำผลแก่แห้งของผักชีลาวบดให้เป็นผง ชงกับน้ำดื่มวันละ 4-5 แก้ว แก้อาการปวดท้อง แน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับลมหรือใช้ต้นสดของผักชีลาวผสมกับนมให้เด็กอ่อนดื่มแก้ท้องอืดท้องเฟ้อได้เช่นกัน ส่วนน้ำมันมักใช้ผสมในยาย่อยอาหาร ยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
 
ประโยชน์ทางอาหาร :
ใบสดและใบแห้งใช้โรยบนอาหารประเภทปลาเพื่อดับกลิ่นคาว ใบใส่แกงอ่อมแกงหน่อไม้ห่อหมกแกล้มแกงเนื้อน้ำพริกปลาร้าผักใส่ไข่ยอดใบรับประทานกับลาบเมล็ด และใบช่วยชูรสเมล็ดมีน้ำมันหอมระเหยใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เมล็ดแห้งที่แก่เต็มที่ใช้เป็นยาบำรุงกำลังชั่วคราวและขับลมในท้อง เมล็ดก่อนนำมาประกอบอาหารควรบดก่อน โดยนิยมโรยบนสลัดผักและมันฝรั่งบดเพื่อเพิ่มรสชาติ นอกจากนี้น้ำมันผักชีลาวยังใช้แต่งกลิ่นผักดอง น้ำซอส สตู ขนมหวาน เครื่องดื่มและเหล้า
 
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร : ต้นสด ใบสด ใบแห้ง ผลแห้ง