ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดกวิศรารามราชวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thongdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thongdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| full_name = วัดกวิศราราม ราชวรวิหาร
| common_name =
| image_temple = Gtrrtrtr0023.JPGILOF0354.jpg JPG
| short_describtion =
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นตรี อันดับ ๑ ชนิดราชวิหาร
บรรทัด 37:
'''วัดกวิศรารามราชวรวิหาร''' ตั้งอยู่ริมถนนเพทราชา ทางด้านทิศใต้ของ[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]] ในเขตตำบลท่าหิน [[อำเภอเมืองลพบุรี]] [[จังหวัดลพบุรี]] เป็น[[วัด]]เก่าแก่ซึ่งมีความสำคัญมากแห่งหนึ่งของลพบุรี ตามตำนาน[[พระอารามหลวง]]นั้น บอกประวัติไว้สั้นๆ แต่เพียงว่า วัดนี้เดิมชื่อ '''วัดขวิด''' [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ทรงสร้าง ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ ๔ ทรง สถาปนาใหม่ พระราชทานนามว่า วัดกรวิศยาราม และรัชกาลที่ ๕ ทรงปฏิสังขรณ์เพิ่มเติมอีกโดยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงพระ ราชทานอุทิศ ถวายเป็นวิสุงคามสีมา ในการทำสังฆกรรมอุปสมบทข้าราชบริพาร นิกาย และวัดขวิด(วัดกรวิศยาราม) ที่ลพบุรี หรือวัดกวิศรารามในปัจจุบัน เป็นวัดรามัญนิกายอีกวัดหนึ่ง
[[ไฟล์:ILOF0354.jpg|thumb|left|180px|พระอุโบสถมหาอุต]]
[[ไฟล์:TYY0342.JPG|thumb|left|110px|เจดีย์ด้านหลังพระอุโบสถ]]
[[ไฟล์:1192471927.jpg |thumb|left|170px|พระประธานปางมารวิชัยประดิษฐานอยู่ภายในพระอุโบสถ]]
จึงมีพระบรมราชโองการดำรัสสั่ง ให้ผู้ที่เคยซื้ออิฐซื้อปูนตีราคาของร้างในวังนั้น ว่าจะเป็นราคาสักเท่าไร ผู้รับสั่งเป็นอันมากปรึกษาพร้อมกัน ตีราคาว่าประมาณ ๕๐๐ ชั่งขึ้นไป ๖๐๐ ชั่งลงมาวัดกวิศราราม แต่เดิมคงเป็นวัดร้าง ไม่มี[[พระสงฆ์]]จำพรรษา [[พระอุโบสถ]]เดิม ซึ่งตามลักษณะเป็นพระอุโบสถ สมัย[[อยุธยา]]ตอนปลาย ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชนั้น เป็นพระอุโบสถขนาดย่อมแบบมหาอุด มีประตูเข้าออกทางเดียว ผนัง เจาะเป็นช่องไม่มีหน้าต่าง พระประธานซึ่งเป็นของเก่าแก่มาแต่เดิม เป็น[[พระพุทธรูป]]ปางมารวิชัย สมัย[[อู่ทอง]] หลังคาของเดิมมุงด้วย กระเบื้องลอนแบบ[[จีน]] ที่เรียกว่ากาบู ภายในพระอุโบสถตกแต่ง โดยเขียนลายประดับเต็มทั่วทั้งที่ผนังและเสาทุกต้น สำหรับพระประธานนั้น นักโบราณคดีตรวจสอบแล้ว ให้ข้อสังเกตว่าพระประธาน ซึ่งเป็นพระขนาดใหญ่ ประดิษฐานในพระอุโบสถมาแต่ต้นนั้น พระพุทธรูป ซึ่งอาจอัญเชิญพระเก่ามาเป็นประธาน แต่ลักษณะของฐานชุกชี และ การประดิษฐานพระนั้น เป็นแบบที่อยู่ในความนิยมเมื่อครั้งก่อนสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมาก บางทีอาจเป็นวัดเก่าแก่ที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรง ปฏิสังขรณ์ขึ้นก็เป็นได้ สันนิษฐานว่าคงจะเป็นเครื่องหมายบอกให้ทราบว่า วัดนี้เป็นวัดที่สมเด็จพระนารายณ์ ฯ ทรงสร้าง และคงจะทำขึ้นในคราวปฏิสังขรณ์นี้เอง แต่ฝีมือช่างตลอดจนลักษณะ และลวดลายนั้น ผิดแผกจากศิลปกรรมในรุ่นเดียวกัน อาจจะเป็นฝีมือช่างชาวลพบุรี จิตรกรรมฝาผนังที่งดงาม กราบนมัสการรูปเหมือน พระพุทธวรญาณ พระเถระผู้มีคุณธรรมสูง และบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ ที่ถือน้ำพิพัฒน์สัตยา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิสังขรณ์ วัดกวิศรารามเรียบร้อยแล้ว ทรงอาราธนาพระสงฆ์ รามัญนิกายมาอยู่จำพรรษา โดยมีเจ้าอาวาสสืบต่อกันมากี่องค์ ไม่ปรากฏ แต่เจ้าอาวาสทุกองค์มีสมณศักดิ์เป็น "พระครูรามัญสมณคุณ" ต่อกันมา จนกระทั่ง เปลี่ยนจากวัดรามัญเป็นวัดมหานิกาย ปัจจุบันมี พระราชพุทธิวราภรณ์ (ประเทือง อาภาธโร) เป็นเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน
 
เส้น 48 ⟶ 46:
 
<gallery perrow="5">
ไฟล์:4111404695 033e6774afTYY0342.jpgJPG|ฟระประธานภายในเจดีย์ด้านหลังพระอุโบสถ
ไฟล์:F0347.JPG|ศาลาการเปรียญ
ไฟล์:IOPF0348.JPG|เจดีย์ภายในวัด