ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะกอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ลบ หมวดหมู่:พืชที่มีคำว่ามะนำหน้า ออก ด้วยสจห.
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
''Spondias lutea'' <small>[[Carolus Linnaeus|L.]]</small>
}}
 
ชื่อพื้นเมืองอื่น'''มะกอก''' หรือ กอกกุก , กูก (เชียงราย) ; กอกหมอง ( เงี้ยว – ภาคเหนือ ) ; ไพแซ (กะเหรียง – เชียงใหม่ ) ; มะกอก (ทั่วไป)
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูงถึง 25 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านเลี้ยงไม่มีขน เปลือกเรียบสีเทาแตกเป็นร่องเล็กน้อย ใบประกอบ มีใบย่อย 3 – 5คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรุปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบแหลมหรือเบี้ยว ดอกออกเป็นช่อสีขาวตามปลายกิ่ง แต่ละดอกมีขนาดเล็ก มี 5 กลีบเกสรมีตัวเมียแยกเป็นสี่แฉก ผลสดมีเนื้อ ลักษณะรูปไข่หรือรูปรี เมื่อสุกมีผลสีน้ำตาล
 
== นิเวศวิทยา ==
เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถขึ้นได้โดยทั่วไป พบในป่าเบญจพรรณและป่าแดงทั่วไป ขึ้นได้ดินแทบทุกชนิด และเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยที่ชุมชื่น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ซึ่งอาจปลุกลงหลุม
 
== ประโยชน์ทางยา ==
*ผล รสเปรี้ยวหวานเย็น แก้เลือดออกตามไรฟัน และต้านอนุมูลอิสระ ( วิตามินสูง )แก้ธาตุพิการ แก้บิด แก้ดีพิการ ทำให้ชุมคอ แก้กระหาย
*ผล เปลือก ใบ เป็นยาบำรุงธาตุ บำรุงสายตา แก้กระหายน้ำทำให้ชุมคอ และเลือดออกตามไรฟัน
- *แก้ร้อนใน หอบ และสะอึก ใช้เมล็ดแห้ 2 – 3 ลูก เผาไฟให้เป็นถ่าน แล้วนำไปแช่น้ำ กรองเอาน้ำดื่ม หรืออาจใช้ผสมยามหานิล ก็ได้
 
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[หมวดหมู่:ไม้ยืนต้น]]
[[หมวดหมู่:สกุลมะกอก]]
 
[[en:Spondias mombin]]
เส้น 32 ⟶ 46:
[[ru:Момбин жёлтый]]
[[vi:Cóc Thái]]
ชื่อพื้นเมืองอื่น กอกกุก , กูก (เชียงราย) ; กอกหมอง ( เงี้ยว – ภาคเหนือ ) ; ไพแซ (กะเหรียง – เชียงใหม่ ) ; มะกอก (ทั่วไป)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง สูงถึง 25 เมตร ลำต้นและกิ่งก้านเลี้ยงไม่มีขน เปลือกเรียบสีเทาแตกเป็นร่องเล็กน้อย
ใบ เป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 – 5คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรุปขอบขนาน หรือรูปหอก ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบแหลมหรือเบี้ยว
ดอก ออกเป็นช่อสีขาวตามปลายกิ่ง แต่ละดอกมีขนาดเล็ก มี 5 กลีบเกสรมีตัวเมียแยกเป็นสี่แฉก
ผล เป็นผลสดมีเนื้อ ลักษณะรูปไข่หรือรูปรี เมื่อสุกมีผลสีน้ำตาล
นิเวศวิทยา
เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถขึ้นได้โดยทั่วไป พบในป่าเบญจพรรณและป่าแดงทั่วไป
การปลูกและขยายพันธุ์
ขึ้นได้ดินแทบทุกชนิด และเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนซุยที่ชุมชื่น ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด ซึ่งอาจปลุกลงหลุม
ประโยชน์ทางยา
ผล รสเปรี้ยวหวานเย็น แก้เลือดออกตามไรฟัน และต้านอนุมูลอิสระ ( วิตามินสูง )แก้ธาตุพิการ แก้บิด แก้ดีพิการ ทำให้ชุมคอ แก้กระหาย
ผล เปลือก ใบ เป็นยาบำรุงธาตุ บำรุงสายตา แก้กระหายน้ำทำให้ชุมคอ และเลือดออกตามไรฟัน
วิธีและปริมาณที่ใช้
- แก้ร้อนใน หอบ และสะอึก ใช้เมล็ดแห้ 2 – 3 ลูก เผาไฟให้เป็นถ่าน แล้วนำไปแช่น้ำ กรองเอาน้ำดื่ม หรืออาจใช้ผสมยามหานิล ก็ได้
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มะกอก"