ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความน่าสะพรึงกลัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
'''ยุคแห่งความเหี้ยมโหด''' ({{lang-en|The Reign of Terror -}}; [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2336]] – [[28 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2337]] ) ในบางครั้งเรียกในภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า ''The Terror'' (ฝรั่งเศส: la Terreur) หมายถึงช่วงระยะเวลาประมาณ 10 เดือนที่เกิดขึ้นในการ[[ปฏิวัติฝรั่งเศส]]จากการพยายามต่อสู้กันระหว่างคู่แข่งสองฝ่ายซึ่งได้นำไปสู่ความรุนแรงด้วยการฆาตกรรมหมู่ด้วย[[กิโยติน]] ส่วนใหญ่จะโยงถึง บุคคลคือ [[ มักซีมีลียอง โรแบสปีแยร์ |Robespierre]] และ [[จอร์จส์ ดังตอง|Georges Danton]] ซึ่งกลายเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของการปฏิวัติที่รุนแรงทั่วๆ ไป
 
'''ความโหดเหี้ยม'''ได้เริ่มเมื่อวันที่ [[5 กันยายน]] [[พ.ศ. 2336]] ซึ่งตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] การปราบปรามอย่างรุนแรงเพิ่มเริ่มขึ้นในระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม [[พ.ศ. 2337]] ซึ่งถูกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า "''la Grande Terreur''" หรือ ความเหี้ยมโหดอย่างที่สุด (The Great Terror) ซึ่งยืนยาวต่อเนื่องไปจนถึงการประหารชีวิตตัวการแห่งยุคแห่งความเหี้ยมโหดเองหลายคนรวมทั้ง Saint-Just และ [[ มักซีมีลียอง โรแบสปีแยร์ |Maximilien Robespierre]] ความโหดเหี้ยมโหดของยุคนี้คร่าชีวิตคนไประหว่าง 18,000 ถึง 40,000 คน (ประมาณการอย่างกว้างๆ เนื่อจากมีความแตกต่างกันระหว่างบันทึกทางประวัติศาสตร์ การประมาณการเชิงสถิติ) ในเดือนสุดท้ายก่อนการยุติ มีผู้ถูกประหารมากถึง 1,900 คน
 
หลายคนถือว่าความเหี้ยมโหดในระบอบการปกครองแบบ[[ทรราช]]ในปัจจุบันสืบเนื่องมาจาก ยุคแห่งความเหี้ยมโหดครั้งนี้ แต่หลายคนก็โต้เถียงว่าแนวคิดดังกล่าวนี้มองข้ามอิทธิพลของการปฏิวัติฝรั่งเศสมีผลให้เกิดความเฟื่องฟูของระบอบ[[ประชาธิปไตย]]และระบอบ[[รัฐธรรมนูญ]]
บรรทัด 19:
 
== ความสยดสยอง ==
[[ภาพไฟล์:Cruikshank - The Radical's Arms.png|thumb|left|1819 [[ภาพล้อ]] โดย [[George Cruikshank]]. Titled "แขนของพวกหัวรุนแรง" รูปแสดงให้เห็น ''[[กิโยติน]]''ที่โด่งดัง "ไม่มีพระเจ้า! ไม่มีศาสนา! ไม่มีกษัตริย์! ไม่มีรัฐธรรมนูญ!" ข้อความแผ่นแถบป้ายของฝ่ายสาธารณรัฐ]]
 
ในวันที่ [[2 มิถุนายน]] มีการยึดอำนาจในสภาโดยเรียกร้องให้ฝ่ายบริหารและฝ่ายการเมืองลดและกำหนดราคาขนมปังตายตัวและลดการให้สัมปทานแก่บางฝ่ายเป็นการเฉพาะ และด้วยการสนับสนุนของกองกำลังแห่งชาติพวกดังกล่าวสามารถโน้มน้าวให้จับกุมบุคคลผู้นำกลุ่มการเมือง Girondin ไป 31 คน และจากการจับกุมครั้งนี้ทำให้ฝ่าย Jacobin มีอิทธิพลมากขึ้นจนสามารถคุมคณะกรรมาธิการฝ่ายความมั่นคงไว้ได้เมื่อวันที่ [[10 มิถุนายน]] และจัดตั้งระบบเผด็จการฝ่ายปฏิวัติขึ้นมาได้ เมื่อวันที่ [[13 มิถุนายน]] ผู้นำที่เป็นนักหนังสือพิมพ์ด้วยฝ่าย Jacobin ปากกล้าที่ถูกตราว่ากระหายเลือดถูกสังหารโดยฝ่าย Girodin กลับมีผลให้ฝ่าย Jacobin มีอิทธิพลทางการเมืองสูงขึ้น ฝ่ายปฏิวัติคนหนึ่งที่ช่วยโค่นล้มกษัตริย์ซึ่งมีภาพลักษณ์เป็นพวกหรูหราถูกปลดจากตำแหน่งกรรมาธิการและตั้งคนที่ "''บริสุทธ์จากการคอร์รัปชั่น''" คนหนึ่งขึ้นมาแทนและกลายเป็นผู้มีอิทธิพลมากที่สุดในคณะกรรมาธิการที่กำลังเพิ่มมาตรการปราบปรามพวกต่อต้านต่างจังหวัดและข้าศึกต่างชาติ
บรรทัด 34:
 
== การยุติ ==
[[ภาพไฟล์:Execution robespierre, saint just....jpg|right|thumb|การประหารชีวิต Robespierre]]
 
ความพยายามสร้างความสมานฉันท์และความรักชาติให้เกิดขึ้นของฝ่ายปฏิวัติกลับนำมาซึ่งการนองเลือดอย่างต่อเนื่อง หลังการได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดจกาการสู้รบกับฝ่ายออสเตรีย Robespierre ผู้ยึดอำนาจและเป็นเผด็จการทางรัฐสภาก็ถูกโค่นอำนาจโดยการสมรู้ร่วมคิดของสมาชิกสภาหลายคนและถูกนำไปตัดศีรษะด้วยกิโยตินพร้อมกับพวกในกลุ่มหลายคนเมื่อวันที่ [[28 กรกฎาคม]] ซึ่งเหตุการณ์นี้นำไปสู่ยุคที่เรียกว่า "''เหี้ยมขาว''" (White Terror.) ซึ่งเป็นยุคต่อต้านความโหดเหี้ยมที่นำโดย Robespierre ซึ่งยังคงมีความโหดเหี้ยมเกิดขึ้นประปรายไปอีกระยะหนึ่ง ซึ่งมีการประหารพวก Jacobins ไปอีกหลายร้อยคน