ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุปนิษัท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: fa:اوپانیشاد
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
คำว่า "อุปนิษัท" มาจากรากศัพท์ คำอุปสรรค 'อุป' 'นิ' และธาตุ 'สัท' (นั่ง) ซึ่งหมายถึง นั่งใกล้คนใดคนหนึ่ง อันได้แก่ การนั่งของศิษย์ใกล้ครูอาจารย์ เพื่อสอนหลักธรรมอันลึกซึ้ง<ref>รศ. ดร.[[จำลอง สารพัดนึก]]. '''ประวัติวรรณคดีสันสกฤต 1'''. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546. </ref> คัมภีร์อุปนิษัทนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก และอยู่ในช่วงเวลาที่กว้าง บางเล่มอยู่ในสมัยก่อน[[พุทธกาล]] บางเล่มมีอายุอยู่หลังพุทธกาล
 
==มุขยะ อุปนิษัท==
'''มุขยะ อุปนิษัท''' (มุขฺย อุปนิษทฺ) เป็นคำเรียกคัมภีร์อุปนิษัทกลุ่มหนึ่ง มีด้วยกัน 10 เล่ม จากอุปนิษัททั้งหมด 108 เล่ม นับเป็นอุปนิษัทที่เ้ก่าแก่ที่สุด ซึ่ง[[ศังกราจารย์]] นักปราชญ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ได้กล่าวถึงไว้ คำว่า "มุขยะ" ในภาษาสันสกฤต หมายถึง หลัก หัวหน้า หรือโดดเด่น "มุขยะ อุปนิษัท" จึงหมายถึง อุปนิษัทหลัก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ยังมีคำเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทโศปนิษัท หรือ อุปนิษัททั้งสิบ คัมภีร์เหล่านี้ชาวฮินดูยอมรับว่าเป็น[[ศรุติ]] (คัมภีร์ที่เกิดจากการฟังมาจากพระเจ้า) โดยมีรายชื่อดังนี้ (ในวงเล็บ คือชื่อพระเวทที่เกี่ยวข้องของอุปนิษัทนั้นๆ)
 
#[[อีษา อุปนิษัท]] "ผู้ปกครองภายใน" (ศูกล [[ยชุรเวท]])
#[[เกนะ อุปนิษัท]] "ใครย้ายโลก" ([[สามเวท]])
#[[กถะ อุปนิษัท]] "ความตายเป็นครู" (กฤษณะ ยชุรเวท)
#[[ปรัสนะ อุปนิษัท]] "ลมหายใจของชีวิต" ([[อาถรรพเวท]])
#[[มุณฑกะ อุปนิษัท]] "การรับรู้สองอย่าง" (อาถรรพเวท)
#[[มาณฑูกยะ อุปนิษัท]] "จิตสำนึกและช่วงต่าง" (อาถรรพเวท)
#[[ไตติรียะ อุปนิษัท]] "จากอาหาร สู่ปีติ" (กฤษณะ ยชุรเวท)
#[[ไอตเรยะ อุปนิษัท]] ([[ฤคเวท]])Aitareya, (ṚV) "ตัวตนและอาตมันของมนุษย์"
#[[ฉานโทคยะ อุปนิษัท]] "บทเพลงและการสังเวย" (สามเวท)
#[[พฤหทารัณยกะ อุปนิษัท]] (ศูกล ยชุรเวท)
 
เมื่อพิจารณาในทางภาษาศาสตร๋ พบว่าคัมภีร์ที่เก่าที่สุด (พฤหทารัณยกะ และฉานโทคยะ) อยู่ในยุคพราหมณะ ของภาษาสันสกฤตสมัยพระเวท ก่อนสมัย[[ปาณินิ]] ส่วนคัมภีร์ยุคกลาง (กถะ) อยู่ในยุคสูตระ ของภาษาสันสกฤตสมัยพระเวทยุคหลัง ร่วมสมัยกับปาณินิ และคัมภีร์ใหม่สุดในจำนวนนี้ อยู่ในช่วงต้นของภาษาสันสกฤตแบบแผน ร่วมสมัยกับคัมภีร์[[ภควัทคีตา]] (คือราว 4 ศตวรรษก่อนคริสต์กาล จนถึงสมัยเมารยัน หรือเริ่มคริสตกาล)
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}