ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคประสาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 2:
'''โรคประสาท''' (neurosis) เป็นความผิดปกติทางจิตชนิดหนึ่งที่ไม่รุนแรง แสดงอาการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำให้จิตใจแปรปรวน อ่อนไหวง่าย มักมีความรู้สึกสบายใจ วิตกกังวลอยู่เสมอ ไม่สามารถควบคุมความรู้สึกอารมณ์หรือพฤติกรรมให้เหมือนเดิมได้ อาการทางกายภาพแสดงออกได้ หลายรูปแบบ
 
== การใช้คำ ==
คำว่า ''neurosis'' ถูกเสนอให้ใช้เป็นครั้งแรกโดยแพทย์ชาวสก็อตต์ [[William Cullen]] ในปี ค.ศ. 1769 โดยหมายถึงความผิดปกติเกี่ยวกับการรับสัมผัสและการเคลื่อนไหว (disorders of sense and motion) ซึ่งเกิดจากการได้รับผลกระทบโดยรวมของ[[ระบบประสาท]] (general affection of the nernous system) โดยถือว่าเป็นคำที่ใช้อธิบายความผิดปกติและอาการทางระบบประสาทหลายๆ อย่างที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยสรีรวิทยา มีที่มาจากคำภาษากรีก ''neuron'' (เส้นประสาท) เสริมกับคำปัจจัย ''-osis'' (ซึ่งผิดปกติ ซึ่งเป็นโรค) อย่างไรก็ดีคำ neurosis นี้ถูกอธิบายอย่างละเอียดโดย [[Carl Jung]] และ [[Sigmund Freud]] ในกว่าหนึ่งศตวรรษต่อมา ต่อมาจึงมีการใช้คำนี้ในงานเขียนทางจิตวิทยาและปรัชญาอยู่ระยะหนึ่ง<ref>{{cite book |author = [[John Russon |Russon, John]] |title = Human Experience: Philosophy, Neurosis, and the Elements of Everyday Life |publisher = State University of New York Press |date = 2003 |isbn = 0791457540}} See also Kirsten Jacobson, (2006), "The Interpersonal Expression of Human Spatiality: A Phenomenological Interpretation of ''Anorexia Nervosa''," ''Chiasmi International'' 8, pp 157-74.</ref>
 
คู่มือการวินิจฉัยและจำแนกทางสถิติของโรคทางจิตใจ ([[Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders]], DSM) ได้ถอนหมวดหมู่ที่เกี่ยวข้องกับ neurosis ออกทั้งหมด สะท้อนถึงการตัดสินใจของบรรณาธิการที่ต้องการให้มีการใช้พฤติกรรมมาเป็นเงื่อนไขการวินิจฉัยแทนที่จะเป็นกระบวนการทางจิตที่ซ่อนอยู่<ref name="Horwitz2007">{{cite book | authors = Horwitz and Wakefield | title = The Loss of Sadness | publisher = Oxford | date = 2007 | isbn = 9780195313048}}</ref> หลังจากนั้น The American Heritage Medical Dictionary ก็ได้ระบุว่าคำนี้เป็นคำที่ไม่มีที่ใช้ในการวินิจฉัยทางจิตเวชอีกต่อไป<ref name="ahmd">{{cite book | title = The American Heritage Medical Dictionary | publisher = Houghton Mifflin | date = 2007 | isbn = 9780618824359}}</ref> การเปลี่ยนแปลงของ DSM ครั้งนี้ทำให้เกิดการโต้เถียงกันอย่างกว้างขวาง<ref>Wilson, Mitchell, (1993), "DSM-III and the Transformation of American Psychiatry: A History". ''The American Journal of Psychiatry'', 150,3, pp 399-410.</ref>
บรรทัด 23:
# '''ชนิดไฮโปคอนดิเคิล''' มีความวุ่นวายเกี่ยวกับร่างกายและย้ำคิดเกี่ยวกับสุขภาพของตัวเองโดยที่ร่างกายอยู่ในสภาพปกติเหมือนคนทั่วไป
 
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
 
{{ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม}}
 
[[หมวดหมู่:โรค|ประสาท]]
[[หมวดหมู่:อาการป่วยทางจิต|รคประสาท]]