ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชุมนุมเจ้าพระฝาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 2135302 โดย Tmd ด้วยสจห.
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Phra Fang.jpg|thumb|การแสดงแสงสีเสียง "ประวัติพระพุทธรูปพระฝางทรงเครื่อง" ชุมนุมเจ้าพระฝางเป็นชุมนุมไทยสุดท้ายหลัง[[กรุงศรีอยุธยา]]เสียแก่[[ราชอาณาจักรพม่า|พม่า]] ที่[[พระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงทำลายได้ ทำให้แผ่นดินกลับรวมเป็นหนึ่งอีกครั้ง]]
'''ชุมนุมเจ้าพระฝาง''' เป็นชุมนุมอิสระที่แยกออกจากอำนาจ[[สภาพจลาจลภายหลังการเสียกรุงธนบุรีศรีอยุธยาครั้งที่สอง|ชุมนุมอิสระ]] หลังภายหลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าครั้งที่สอง]] ในปี [[พ.ศ. 2310]] โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ '''พระพากุลเถระ (มหาเรือน)''' พระสังฆราชาแห่ง[[วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ|เมืองสวางคบุรี (ฝาง)]]
 
'''ชุมนุมเจ้าพระฝาง''' เป็นชุมนุมอิสระที่แยกออกจากอำนาจ[[กรุงธนบุรี]] หลังกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปี [[พ.ศ. 2310]] โดยมีผู้นำชุมนุมเป็นพระสงฆ์ คือ '''พระพากุลเถระ (มหาเรือน)''' พระสังฆราชาแห่ง[[วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ|เมืองสวางคบุรี (ฝาง)]]
 
พระพากุลเถระ (มหาเรือน) หรือเจ้าพระฝาง ท่านเป็นชาวเมืองเหนือ (เวียงป่าเป้า) ได้ศึกษาเล่าเรียนพระศาสนาจากราชสำนัก[[กรุงศรีอยุธยา]] และได้รับการสถาปนาเป็น พระพากุลเถระ คณะฝ่าย[[อรัญวาสี]] อยู่ ณ วัดศรีอโยธยา ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็น[[พระราชาคณะ|พระสังฆราชาเจ้าคณะ]]เมืองสวางคบุรี กลับขึ้นไปจำวัดอยู่ที่[[วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ|วัดพระฝาง เมืองสวางคบุรี]] หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในปี [[พ.ศ. 2310]] ท่านจึงได้ตั้งตนเป็นเจ้าทั้งที่อยู่ใน[[สมณเพศ]] แต่ผู้คนก็พานับถือเรียกกันว่า '''เจ้าพระฝาง''' หรือ '''พระเจ้าฝาง''' เนื่องจากชาวบ้านนับถือว่าเป็นผู้วิเศษ
เส้น 10 ⟶ 9:
 
== ประวัติเจ้าพระฝาง ==
 
{{ประวัติศาสตร์ไทย}}
'''พระพากุลเถระ (เรือน)''' หรือ '''"เจ้าพระฝาง"''' เป็นชาวเหนือ [[บวช]][[พระ]]แล้ว ลงมาร่ำเรียนพระไตรปิฎกที่[[อยุธยา]] สมัย[[พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] เชี่ยวชาญได้ชั้นมหา เรียกตามชื่อเดิมว่า “มหาเรือน”
 
เส้น 22 ⟶ 21:
 
สองปีต่อมา กรมการเมือง[[อุทัยธานี]] และเมือง[[ชัยนาท]] กราบทูลพระเจ้า[[กรุงธนบุรี]]ว่า เจ้าพระฝางประพฤติเป็นพาลและทุศีลมากขึ้น ตัวยังห่มผ้าเหมือนพระ แต่ ประกอบกรรมปาราชิก พวกพระที่เป็นแม่ทัพนายกองก็ออกปล้นข้าวปลาอาหารจากราษฎร เดือดร้อนกันไปทั่ว
 
 
== [[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง ==
[[ไฟล์:Phra Fang.jpg|thumb|การแสดงแสงสีเสียง "ประวัติพระพุทธรูปพระฝางทรงเครื่อง" ชุมนุมเจ้าพระฝางเป็นชุมนุมไทยสุดท้ายหลัง[[กรุงศรีอยุธยา]]เสียแก่[[ราชอาณาจักรพม่า|พม่า]] ที่[[พระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงทำลายได้ ทำให้แผ่นดินกลับรวมเป็นหนึ่งอีกครั้ง]]
 
ล่วงมาถึงปีขาล [[พ.ศ. 2313]] มีข่าวมาถึง[[กรุงธนบุรี]]ว่า เมื่อเดือน 6 ปี[[ขาล]] เจ้าพระฝางให้ส่งกำลังลงมาลาดตระเวณถึงเมือง[[อุทัยธานี]] และเมือง[[ชัยนาท]] เป็นทำนองว่าจะคิดลงมาตีกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงมีรับสั่งให้เตรียม[[กองทัพ]] จะยกไปตีเมืองเหนือในปีนั้น ขณะนั้นพวกฮอลันดาจากเมืองยะกะตรา (จาร์กาตา) ส่ง[[ปืนใหญ่]]มาถวาย และแขกเมือง[[ตรังกานู]] ก็นำ[[ปืนคาบศิลา]]เข้ามาถวาย จำนวน 2,000 กระบอก พอเหมาะแก่พระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่จะใช้ทำศึกต่อไปในครั้งนี้
เส้น 77 ⟶ 76:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==