ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรรูปลิ่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: nn:Kileskrift
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ml:ക്യൂണിഫോം ലിപി; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ugaritic7-kha-dhal-zu-thanna.PNG|thumb|300px|อักษรยูการิติค อักษรรูปลิ่มที่เป็นระบบพยัญชนะ]]
'''อักษรรูปลิ่ม''' หรือ '''คูนิฟอร์ม''' เป็นระบบการเขียน ที่หลากหลาย เป็นได้ทั้ง อักษรแทนพยางค์ อักษรแทนคำ และอักษรที่มีระบบสระ - พยัญชนะ คำว่า “cuneiform” มาจาก[[ภาษาละติน]] “cuneus” แปลว่า[[ลิ่ม]] ดังนั้นอักษรรูปลิ่มจึงรวมอักษรที่มีรูปร่างคล้ายลิ่มทั้งหมด ภาษาหลายตระกูล ทั้งตระกูลเซมิติค ตระกูลอินโด - ยุโรเปียน และอื่นๆ ที่เขียนด้วย อักษรนี้ เช่น
* [[อักษรสุเมเรีย]]
* [[อักษรอัคคาเดีย]]/ บาบิโลเนีย/ อัสซีเรีย (เซมิติคตะวันออก)
* [[อักษรอีลาไมต์]]
* [[อักษรเอบลาไอต์]]
* [[อักษรฮิตไตน์]]
* [[อักษรฮูร์เรีย]]
* [[อักษรอูตาร์เตีย]]
* [[อักษรยูการิติค]] (ระบบพยัญชนะ)
บรรทัด 13:
== แผ่นดินเหนียว ตัวกลางของอักษรรูปลิ่ม ==
 
[[ไฟล์:cuneiform script2.jpg|thumb|250px|อักษรรูปลิ่มบนดินเหนียว ]]
 
ตัวอย่างเก่าสุดของอักษรใน[[เมโสโปเตเมีย]] เริ่มราว 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช พบในบริเวณ อูรุก (Uruk) นิปเปอร์ ซูซา และเออร์ (Ur) ส่วนใหญ่เป็นบันทึกเกี่ยวกับการค้าขาย บันทึกเหล่านี้ พัฒนามาจาก ระบบการนับ ที่ใช้มาตั้งแต่ 5,000 ปี ก่อนหน้านั้น แผ่นดินเหนียวเริ่มใช้ตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในเมโสโปเตเมีย โดยทั่วไป เป็นรูปทรง 3 มิติ มี 2 ชนิดคือ แบบแผ่นแบน และแผ่นซ้อน
* แบบแผ่นแบน เป็นรูปแบบโบราณ พบตั้งแต่ 8,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ในบริเวณกว้าง ตั้งแต่ [[ตุรกี]] [[ซีเรีย]] [[อิสราเอล]] [[จอร์แดน]] [[อิหร่าน]] และ[[อิรัก]] เป็นแบบที่แพร่หลายกว่า คล้ายกับว่าเป็นแบบที่ใช้ในการนับทางเกษตรกรรม เช่น การนับธัญพืช
* แบบแผ่นซ้อน เป็นแบบที่ตกแต่งด้วยเครื่องหมาย เริ่มพบในช่วง 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทางภาคใต้ของเมโสโปเตเมีย ใช้บันทึกเกี่ยวกับสินค้าแปรรูป ซึ่งพบในบริเวณ ที่มีการขยายตัวของ[[อุตสาหกรรม]]อย่างรวดเร็ว เช่น สุเมเรีย ตัวอย่างที่เก่าสุด พบในวิหาร[[เทพีอินอันนา]] เทพีแห่งความรักและความอุดมสมบูรณ์ ของชาวสุเมเรีย ในเมืองอูรุก ซึ่งทางวิหารใช้บันทึก เกี่ยวกับการแปรรูปสินค้าของวิหาร
 
== จากแผ่นดินเหนียวสู่ตัวอักษร ==
บรรทัด 69:
[[lt:Dantiraštis]]
[[lv:Ķīļraksts]]
[[ml:ക്യൂണിഫോം ലിപി]]
[[nl:Spijkerschrift]]
[[nn:Kileskrift]]