ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเนปาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bn, la แก้ไข: ar, ne
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
{{Infobox Language
| name = ภาษาเนปาล
เส้น 10 ⟶ 9:
| fam2 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อิราเนียน|อินโด-อิราเนียน]]
| fam3 = [[กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน|อินโด-อารยัน]]
| fam4 = [[กลุ่มภาษาพาฮาปาหารี|พาฮารี]] (เขตเหนือ)
| fam5 = พาฮารีตะวันออก
| script = [[อักษรเทวนาครี]]
เส้น 20 ⟶ 19:
'''ภาษาเนปาล''' เป็น[[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน]]ที่พูดใน[[ประเทศเนปาล]] [[ประเทศอินเดีย]] [[ประเทศภูฏาน]] และบางส่วนของ[[ประเทศพม่า]] เป็นภาษาราชการของ[[ประเทศเนปาล]] ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของเนปาลพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ และชาวเนปาลอื่น ๆ หลายคนพูดเป็นภาษาที่สอง
 
ชื่อของภาษาเนปาลในภาษาเนปาลคือ คาสกุรา (Khaskura) ชื่ออื่น ๆของภาษานี้มีมากมาย คนที่พูดภาษาอังกฤษเรียกว่า เนปาลี (Nepali) หรือ เนปาลีส (Nepalese) นอกจากนี้ คาสกุรา มีชื่ออื่น เช่น กอร์คาลี (Gorkhali) หรือ กูร์คาลี (Gurkhali) แปลว่าภาษาของชาว[[กุรข่า]] และพาร์ตาบิยา (Parbatiya) แปลว่าภาษาของภูเขาภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และ[[รามายณะ]] โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจาก[[ภาษาสันสกฤต]] รวมถึง[[ไบเบิล]]ด้วย
 
== การจัดจำแนก ==
ภาษาเนปาลเป็นภาษาใน[[ภาษากลุ่มพาฮาริ]]ที่อยู่ทางตะวันออกสุด ซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่มีความสัมพันธ์กันภาษาที่พูดทั่วทั้งระดับต่ำของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ระหว่างเนปาลตะวันออกไปถึง[[รัฐอุตตรจัลประเทศ]]และ[[รัฐหิมาจัลประเทศ]]ของอินเดีย ภาษาเนปาลพัฒนาในพื้นที่ใกล้เคียงกับ[[ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า]]จำนวนหนึ่ง โดยเฉพาะ[[ภาษาเนวารี]] และแสดงถึงอิทธิพลของภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่มีต่อภาษานี้
 
ภาษาเนปาลเป็นภาษาใน[[ภาษากลุ่มพาฮาริปาหารี]]ที่อยู่ทางตะวันออกสุด ซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่มีความสัมพันธ์กันภาษาที่พูดทั่วทั้งระดับต่ำของ[[เทือกเขาหิมาลัย]]ระหว่างเนปาลตะวันออกไปถึง[[รัฐอุตตรจัลประเทศ]]และ[[รัฐหิมาจัลประเทศ]]ของอินเดีย ภาษาเนปาลพัฒนาในพื้นที่ใกล้เคียงกับ[[ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า]]จำนวนหนึ่ง โดยเฉพาะ[[ภาษาเนวารี]] และแสดงถึงอิทธิพลของภาษากลุ่มทิเบต-พม่าที่มีต่อภาษานี้
 
ภาษาเนปาลมีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับ[[ภาษาฮินดี]] แต่เป็นภาษาที่มีความอนุรักษ์นิยมมากกว่า เนื่องจากยืมคำจาก[[ภาษาเปอร์เซีย]] และภาษาอังกฤษน้อยกว่า และใช้คำที่มาจาก[[ภาษาสันสกฤต]]มากกว่า ในปัจจุบัน ภาษาเนปาลเขียนโดยใช้อักษร[[เทวนาครี]] (Devanagari script) ส่วน[[ภูชิโมล]] (Bhujimol) เป็นอักษรโบราณพื้นเมืองของเนปาล
 
== จำนวนผู้พูด ==
ภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และ[[รามายณะ]] โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจาก[[ภาษาสันสกฤต]] รวมถึง[[ไบเบิล]]ด้วย
 
ประชากรของเนปาลมากกว่า 2 ใน 3 ใช้ภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ มีผู้พูดภาษานี้ทั่วโลกมากกว่า 17 ล้านคน อยู่ในเนปาล 11 ล้านคน)<ref name=census>[http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=nep Ethnologue Report for Nepali] (Accessed 1 February 2009).</ref> จุดกำเนิดของภาษาเนปาลอยู่ที่หุบเขาทางตะวันตกของเนปาล เคยเป็นภาษากลางใน[[เทือกเขากาฏมาณฑุ]] ปัจจุบันเป็นภาษาราชการและภาษาในชีวิตประจำวัน ในภูฏาน มีผู้พูดภาษาเนปาล 40 - 50% ของประชากรทั้งหมด รวมแล้วประมาณ 1 ล้านคน ส่วนหนึ่งกลายเป็นผู้อพยพในเนปาลตะวันออก
 
ในอินเดีย มีผู้พูดภาษาเนปาลในรัฐสิกขิมและบริเวณใกล้เคียงในรัฐเบงกอลตะวันตก มีผู้พูดภาษาเนปาล 300,000 คนในสิกขิม รวมแล้วมีผู้พูดภาษาเนปาลในอินเดียราว 1 ล้านคน
 
== ประวัติ ==
เมื่อ 500 ปีที่ผ่านมาชาวข่าจากที่ราบการ์นาลี-เภรี-เซตีอพยพไปทางตะวันออกเข้าสู่ที่ราบสูงคาม แล้วไปสู่ที่ราบคันทาลีที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวกลุ่มหนึ่งที่แพร่ขยายไปคือชาวกุรข่าซึ่งเป็นกลุ่มที่อยู่ระหว่างโปขราและกาฏมาณฑุ ใน พ.ศ. 2243 ผู้นำของชาวกุรข่าคือปริฐวี นารายัณ ชาห์ นำกองทหารเข้ายึดครองกุรุง มาคัร และชาวเผ่าตามหุบเขาอื่นๆ และจัดตั้งอาณาจักรในแถบเทือกเขาหิมาลัย เมื่อชาวกุรข่าเข้ามามีอำนาจเหนือราชวงศ์ดั้งเดิมที่เป็นชาวคาส ภาษาของชาวกุรข่าจึงมีชื่อว่าภาษาคาสกุรา
 
กองทหารปริฐวี นารายัณยึดครองได้ตั้งแต่หุบเขากาฏมาณฑุไปจนถึงที่ราบคันทาลี บริเวณนี้มีชื่อว่าเนปาลในสมัยนั้น เมืองกาฏมาณฑุกลายเป็นเมืองหลวง และได้ขยายอำนาจออกไปทุกทิศ ทำให้เกิดความขัดแย้งกับอังกฤษและจีน จึงมีการตกลงกำหนดเขตของบริเวณที่จะเป็น "เนปาล" และทั้งจีนและอังกฤษรับรองความเป็นรัฐของเนปาล เมื่อหุบเขากาฏมาณฑุกลายเป็นศูนย์กลางของเนปาล ภาษาของชาวกุรข่าจึงเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาเนปาลไปด้วย
== ตัวอย่างข้อความภาษาเนปาล ==
* นมัสเต -- नमस्ते -- ใช้ทุกโอกาส ในการทักทายแบบฮินดู มักจะแปลว่า "ขอนมัสการพระเจ้าในตัวคุณ" (นมัสเต ยังใช้เป็นคำทักทาย และบอกลาได้ด้วย)
เส้น 36 ⟶ 45:
* ม เนปาลี หูน -- म नेपाली हूँ -- ฉันเป็นชาวเนปาล
* ปุคโย -- पुग्यो — พอแล้ว
{{ขาด== อ้างอิง}} ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
{{วิกิภาษาอื่น|ne}}
{{อินโด-อิหร่าน}}