ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:قرارداد سان فرانسیسکو; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 3:
{{โปร}}
 
[[ภาพไฟล์:Shigeru YOSHIDA 1951.jpg|thumb|นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นนาย[[โยชิดะ ชิเกรุ]] กล่าวสุนทรพจน์รับการปรองดองและรายงานที่ประชุมในการประชุมร่างสัญญาสันติภาพ]]
'''สนธิสัญญาสันติภาพกับญี่ปุ่น''' หรือ '''สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Treaty of San Francisco; [[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]: Traité de paix avec le Japon, เตรเตเดอเปซ์อาแวกเลอชาปง; [[ภาษาญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]: 日本国との平和条約, 日本国との平和条約, [[โรมะจิ|โรมะจิ.]] Nihon-koku tono Heiwa-Jōyaku, นิฮงโกะกุโทะโนะเฮวะโจยะกุ) (8 กันยายน [[พ.ศ. 2494]]) เป็นสนธิสัญญาที่นำไปสู่การยุติสงครามระหว่าง[[ญี่ปุ่น]]กับประเทศร่วมลงนามในสัญญาอีก 49 ประเทศ ประเทศต่างๆ เหล่านี้ได้แก่ประเทศที่ได้[[ประกาศสงคราม]]กับญี่ปุ่น ยกเว้น[[รัสเซีย]] จีน[[ไต้หวัน]]และ[[จีน]]แผ่นดินใหญ่และประเทศอื่นเคยอยู่ใน[[การยึดครอง]]ของญี่ปุ่นระหว่าง[[สงคราม]] ที่ประกาศตั้งเป็นรัฐใหม่หลังการประกาศยอมแพ้ของญี่ปุ่นในปี [[พ.ศ. 2488]]
 
บรรทัด 22:
 
7.ขอให้สหประชาชาติจงเป็นพยานให้กับสนธิสัญญาสันติภาพ ซานฟรานซิสโก ณ ครั้งนี้ ให้คงธำรงไว้ตลอด
== ประเทศที่เข้าร่วมประชุม ==
[[อาร์เจนตินา]], [[ออสเตรเลีย]], [[เบลเยียม]], [[โบลิเวีย]], [[บราซิล]], [[กัมพูชา]], [[แคนาดา]], [[ชิลี]], [[โคลัมเบีย]], [[คอสตาริกา]], [[คิวบา]], [[เชโกสโลวาเกีย]], [[โดมินิกา]], [[เอกวาดอร์]], [[อียิปต์]], [[เอล ซัลวาดอร์]], [[เอธิโอเปีย]], [[ฝรั่งเศส]], [[กรีก]], [[กัวเตมาลา]], [[เฮติ]], [[ฮอนดูรัส]], [[อินโดนีเซีย]], [[อิหร่าน]], [[อิรัก]], [[ลาว]], [[เลบานอน]], [[ไลบีเรีย]], [[ลักเซมเบิร์ก]], [[เม็กซิโก]], [[เนเธอร์แลนด์]], [[นิวซีแลนด์]], [[นิคารากัว]], [[ฟิลิปปินส์]], [[โปแลนด์]], [[ซาอุดีอาระเบีย]], [[สหภาพโซเวียต]], [[ศรีลังกา]], [[แอฟริกาใต้]], [[ซีเรีย]], [[ตุรกี]], [[สหราชอาณาจักร]], [[สหรัฐ]], [[อุรุกวัย]], [[เวเนซุเอลา]], [[เวียตนาม]], และ [[ญี่ปุ่น]]
 
[[พม่า]], [[อินเดีย]], และ [[ยูโกสลาเวีย]] ได้รับการเชิญแต่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม เกาหลีใต้ไม่ได้รับการเชิญเนื่องจากไม่ได้รับการยอมรับเป็นสัมพันธมิตรรวมทั้งประเทศไทย จีนไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่ก็ไม่ได้รับการเชิญเนื่องจากอยู่ระหว่างสงครามกลางเมือง ยังไม่สามารถตัดสินว่าใครจะเป็นตัวแทนประเทศที่ถูกต้องตาม
 
=== การลงนามและการให้สัตยาบัน ===
มี 49 ประเทศที่ร่วมลงนาม ยกเว้นเชกโกสโลวาเกีย โปแลนด์และสหภาพโซเวียต เนื่องจากทั้งสามประเทศปฏิเสธที่จะเข้าร่วมสนธิสัญญา ประเทศโคลัมเบีย อินโดนีเซียและลักแซมเบิร์กได้ร่วมลงนามแต่ไม่ได้ทำสัตยาบรรณ
 
== อ้างอิง ==
* Dictionary of World History, Chambers Harrap, New York 2000
* Treaty of Sanfrancisco, วิกิพีเดียภาคภาษาอังกฤษ [http://en.wikipedia.org/wiki/San_Francisco_Peace_Treaty]
 
{{ข้อตกลงระหว่างประเทศ}}
 
[[หมวดหมู่:การเมืองในสงครามโลกครั้งที่สอง]]
[[หมวดหมู่:รัฐศาสตร์]]
เส้น 45 ⟶ 46:
[[en:Treaty of San Francisco]]
[[es:Tratado de San Francisco]]
[[fa:قرارداد سان فرانسیسکو]]
[[fi:San Franciscon sopimus]]
[[fr:Traité de San Francisco (1951)]]