ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ดูการเปลี่ยนชื่อที่ พูดคุย:ระบาดวิทยา
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| MeshID = D018281
}}
'''มะเร็งท่อน้ำดี''' หรือ '''โคแลงจิโอคาร์ซิโนมา''' ({{lang-en|cholangiocarcinoma}}) เป็น[[มะเร็ง]]ชนิดหนึ่งที่เกิดกับ[[ท่อน้ำดี]]ซึ่งเป็นอวัยวะที่นำ[[น้ำดี]]จาก[[ตับ]]มายัง[[ลำไส้เล็ก]] มะเร็งอื่นๆ ในทางเดินน้ำดีมีเช่น[[มะเร็งตับอ่อน]] [[มะเร็งถุงน้ำดี]] มะเร็งของ[[กระเปาะของวาเตอร์]]เป็นต้น มะเร็งท่อน้ำดีถือเป็น[[มะเร็งชนิดต่อม]]อย่างหนึ่งที่ค่อนข้างพบน้อยโดยมีอุบัติการณ์ต่อปีประมาณ 1-2 รายต่อ 100,000 คนในโลกตะวันตก<ref name="Landis">{{cite journal |author=Landis S, Murray T, Bolden S, Wingo P |title=Cancer statistics, 1998 |journal=CA Cancer J Clin |volume=48 |issue=1 |pages=6–29 |year= 1998|pmid=9449931 |doi=10.3322/canjclin.48.1.6}}</ref> แต่ในช่วงหลายสิบปีมานี้อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำดีทั่วน้ำดีในไทยกลับมีสูงมากที่สุดในโลกกำลังเพิ่มขึ้น<ref name ="rising" Vatanasapt.V>{{cite journal |author=Patel Tyear |title=Worldwide trends2002
| intitle mortality= fromCancer biliarycontrol tractin malignanciesThailand
| |journal=BMC Cancer |volume=2 |issue=Japanese |pages=10journal |year=of 2002|pmid=11991810clinical |doi=10.1186/1471-2407-2-10}}</ref>oncology
| volume = 32 Suppl
| issue =
| pages = S82–91
| pmid = 11959881
| url =
| format =
| accessdate =
| last1 = Vatanasapt
| first1 = V
| last2 = Sriamporn
| first2 = S
| last3 = Vatanasapt
| first3 = P
}}</ref> และในช่วงหลายสิบปีมานี้อัตราอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อนำดีทั่วโลกกำลังเพิ่มขึ้น<ref name="rising">{{cite journal |author=Patel T |title=Worldwide trends in mortality from biliary tract malignancies |journal=BMC Cancer |volume=2 |issue= |pages=10 |year= 2002|pmid=11991810 |doi=10.1186/1471-2407-2-10}}</ref>
 
อาการเด่นของมะเร็งท่อน้ำดีคือการมีผล[[การตรวจการทำงานของตับ]]ผิดปกติ [[ปวดท้อง]] [[ดีซ่าน]] [[น้ำหนักลด]] และอาจมีอาการ[[คัน]]ทั่วไป มี[[ไข้]] สีของ[[อุจจาระ]]และ[[ปัสสาวะ]]เปลี่ยนไป โรคนี้วินิจฉัยโดยอาศัยผลตรวจเลือด ผลตรวจภาพรังสี ผลการส่องกล้อง และบางครั้งอาจต้องอาศัยการผ่าตัดเปิดสำรวจ มะเร็งท่อน้ำดีมักปรากฏอาการในระยะท้ายๆ ของโรคซึ่งทำให้เป็นการจำกัดทางเลือกในการรักษา ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งท่อน้ำดี เช่น โรค[[ท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิ]] ความผิดปกติแต่กำเนิดของตับ การติดเชื้อพยาธิในตับอย่างเช่น พยาธิใบไม้ในตับ ''[[Opisthorchis viverrini]]'' หรือ ''[[Clonorchis sinensis]]'' การสัมผัส[[สารทึบรังสี]]บางชนิดเช่น Thorotrast เป็นต้น อย่างไรก็ดี ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีส่วนใหญ่ไม่ปรากฏปัจจัยเสี่ยงชัดเจน
เส้น 181 ⟶ 197:
* {{cite journal |author=Welzel T, McGlynn K, Hsing A, O'Brien T, Pfeiffer R |title=Impact of classification of hilar cholangiocarcinomas (Klatskin tumors) on the incidence of intra- and extrahepatic cholangiocarcinoma in the United States |journal=J Natl Cancer Inst |volume=98 |issue=12 |pages=873–5 |year=2006 |pmid=16788161}}</ref> สาเหตุที่ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของอุบัติการณ์นี้ยังไม่แน่ชัดโดยอาจเป็นจากการพัฒนาของกระบวนการการวินิจฉัยก็เป็นได้ แต่ในขณะเดียวกันความชุกของปัจจัยที่อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงขงอมะเร็งท่อน้ำดีเช่นการติดเชื้อเอชไอวีนั้นก็มีการเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาทีว่านี้เช่นกัน<ref name="riskfactors">{{cite journal |author=Shaib Y, El-Serag H, Davila J, Morgan R, McGlynn K |title=Risk factors of intrahepatic cholangiocarcinoma in the United States: a case-control study |journal=Gastroenterology |volume=128 |issue=3 |pages=620–6 |year=2005 |pmid=15765398 |doi=10.1053/j.gastro.2004.12.048}}</ref>
 
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีสูงที่สุดในโลก คืออยู่ที่ 84.6 ต่อ 100000 ประชากรชาย และ 36.8 ต่อ 100000 ประชากรหญิง <ref name =Vatanasapt.V/> ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ข้อมูล ร.พ. ศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่นรายงานว่าพบมะเร็งท่อน้ำดีในตับเป็นอันดับ 1 ของมะเร็งที่กำเนิดขึ้นในตับ มีอุบัติการณ์ 300 รายต่อปี<ref>{{Cite journal
| pmid = 10398899
| year = 1999