ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ดูการเปลี่ยนชื่อที่ พูดคุย:ระบาดวิทยา
บรรทัด 38:
== ปัจจัยเสี่ยง ==
[[ไฟล์:Incidence_of_CCA_and_O._viverrini_in_Thailand_from_1990–2001.jpg|thumb|400px|อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีในประเทศไทยช่วงปี ค.ศ. 1990-2001 เทียบกับความชุกของโรคติดเชื้อพยาธิ ''Opisthorcis viverrini'']]
แม้ผู่ป่วยส่วนใหญ่จะไม่มีปัจจัยเสี่ยงชัดเจนแต่ก็ได้มีการศึกษาพบว่ามีปัจจัยเสี่ยงบางอย่างที่สัมพันธ์กับมะเร็งท่อน้ำดี ในโลกตะวันตกปัจจัยเสี่ยงที่พบมากที่สุดคือการเป็นโรค[[ท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิ]] (primary sclerosing cholangitis - PSC) ซึ่งเป็นโรคท่อน้ำดีอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้มีการหนาแข็งของท่อน้ำดี โรคนี้มีความสัมพันธ์กับโรค[[ลำไส้ใหญ่อักเสบแบบมีแผล]] (ulcerative colitis) อีกทีหนึ่ง<ref>{{cite journal |author=Chapman R |title=Risk factors for biliary tract carcinogenesis |journal=Ann Oncol |volume=10 Suppl 4 |issue= |pages=308–11 |year= |pmid=10436847}}</ref> การศึกษาวิจัยทางวิทยาการระบาดวิทยาแสดงให้เห็นว่าอัตราเสี่ยงตลอดชีวิตของผู้ป่วย PSC ที่จะเป็นมะเร็งท่อน้ำดีอยู่ที่ 10-15%<ref>งานวิจัยทางวิทยาการระบาดวิทยาที่ศึกษาเรื่องอุบัติการณ์ของการเกิดมะเร็งท่อน้ำดีในผู้ป่วยท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิเช่นตัวอย่างดังนี้
* {{cite journal |author=Bergquist A, Ekbom A, Olsson R, Kornfeldt D, Lööf L, Danielsson A, Hultcrantz R, Lindgren S, Prytz H, Sandberg-Gertzén H, Almer S, Granath F, Broomé U |title=Hepatic and extrahepatic malignancies in primary sclerosing cholangitis |journal=J Hepatol |volume=36 |issue=3 |pages=321–7 |year=2002 |pmid=11867174 |doi=10.1016/S0168-8278 (01) 00288-4}}
* {{cite journal |author=Bergquist A, Glaumann H, Persson B, Broomé U |title=Risk factors and clinical presentation of hepatobiliary carcinoma in patients with primary sclerosing cholangitis: a case-control study |journal=Hepatology |volume=27 |issue=2 |pages=311–6 |year=1998 |pmid=9462625 |doi=10.1002/hep.510270201}}
บรรทัด 134:
[[พยากรณ์โรค]]อาจแย่ลงไปอีกสำหรับผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่เป็นโรคท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิอยู่ก่อน ซึ่งน่าจะมีเหตุผลมาจากการที่กว่าจะรู้ว่าเป็นโรคก็เป็นระยะที่โรคลุกลามไปมากแล้ว<ref name="autopsy"/><ref>{{cite journal |author=Kaya M, de Groen P, Angulo P, Nagorney D, Gunderson L, Gores G, Haddock M, Lindor K |title=Treatment of cholangiocarcinoma complicating primary sclerosing cholangitis: the Mayo Clinic experience |journal=Am J Gastroenterol |volume=96 |issue=4 |pages=1164–9 |year=2001 |pmid=11316165 |doi=10.1111/j.1572-0241.2001.03696.x}}</ref> หลักฐานบางชิ้นชี้ว่าผลการรักษาอาจดีกว่าหากได้รับการรักษาผ่าตัดแบบกินบริเวณกว้าง (aggressive) ร่วมกับ adjuvant therapy<ref>{{cite journal |author=Nakeeb A, Tran K, Black M, Erickson B, Ritch P, Quebbeman E, Wilson S, Demeure M, Rilling W, Dua K, Pitt H |title=Improved survival in resected biliary malignancies |journal=Surgery |volume=132 |issue=4 |pages=555–63; discission 563–4 |year=2002 |pmid=12407338 |doi=10.1067/msy.2002.127555}}</ref>
 
== วิทยาการระบาดวิทยา ==
มะเร็งท่อน้ำดีเป็น[[มะเร็งชนิดต่อม]]ของ[[ทางเดินน้ำดี]]<ref>http://training.seer.cancer.gov/ss_module13_biliary_tract/unit01_sec01_intro.html Introduction<!-- Bot generated title --> </ref>เช่นเดียวกันกับ[[มะเร็งตับอ่อน]] (ซึ่งเกิดขึ้นบ่อยกว่า 20 เท่า) <ref>http://seer.cancer.gov/csr/1975_2005/results_single/sect_01_table.01.pdf</ref> [[มะเร็งถุงน้ำดี]] (เกิดขึ้นบ่อยกว่า 2 เท่า) และมะเร็งของ[[กระเปาะของวาเตอร์]] (ampulla of Vater) วิธีการรักษาและงานวิจัยทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับมะเร็งตับอ่อนซึ่งมีจำนวนมากกว่างานที่เกี่ยวกับมะเร็งท่อน้ำดีจึงมักถูกใช้เป็นจุดเริ่มต้นของการดูแลผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี แม้ชีววิทยาของทั้งสองโรคจะแตกต่างกันถึงขั้นที่ว่ามะเร็งตับอ่อนอาจรักษาได้ด้วยเคมีบำบัดจนโรคอยู่ในระยะสงบถาวร (permanent remission) แต่กับมะเร็งท่อน้ำดีนั้นถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีรายงานถึงการรอดชีวิตระยะยาวหลังรับการรักษาด้วยเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาในผู้ป่วยที่ผ่าตัดได้
{| style="width: 50%; border-collapse: collapse; margin: 0.2em;" border="2" align="right"