ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมอกปนควัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ความหมายอื่น|||สม็อก (ตัวละคร)}} [[ไฟล์:SmogNY.jpg|thumb|หมอกควันใน[[นิวยอร์ก...
 
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:SmogNY.jpg|thumb|หมอกควันใน[[นิวยอร์กซิตี]]]]
 
'''หมอกควัน''' หรือ '''สม็อก''' (smog) เป็นลักษณะของ[[มลพิษทางอากาศ]]ชนิดหนึ่ง โดยคำว่า สม็อก เป็นคำกร่อนมาจากคำว่า "สโมก" ([[ควัน]]) กับ "ฟ็อก" ([[หมอก]]) ในอดีตสม็อกเกิดขึ้นมาจากการผสมระหว่างควันกับ[[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]]จากการเผาไหม้[[ถ่านหิน]] ส่วนสม็อกในปัจจุบันมักจะมาจากควันที่เกิดจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์และควันจากโรงงานอุตสาหกรรม และทำปฏิกิริยากับแสดงแดดซึ่งก่อให้เกิด [[หมอกควันแบบโฟโตเคมี (photochemical smog]])
 
== หมอกควันแบบโฟโตเคมี ==
ในช่วงประมาณปีพ.ศ. 2490 ได้มีหมอกควันชนิดใหม่ รู้จักในชื่อ หมอกควันแบบโฟโตเคมี โดยหมอกควันประเภทนี้เกิดจากในชั้นบรรยากาศ แสงแดดทำปฏิกิริยากับ[[ไนโตรเจนออกไซด์]] (NO<sub>x</sub>) และ [[สารอินทรีย์ระเหยง่าย]] (volatile organic compound หรือ VOC) โดยไนโตรเจนออกไซด์นั้นถูกปล่อยออกมากในอากาศโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง จากหลายแหล่งเช่น [[รถยนต์]] [[รถบรรทุก]] [[ถ่านหิน]] [[โรงงานไฟฟ้า]] และโรงงานอุตสาหกรรมอื่น ส่วนสารอินทรีย์ระเหยง่ายถูกปล่อยออกมาจาก [[สารละลาย]] [[ยาฆ่าแมลง]] และ[[สีทาบ้าน]]
 
มลภาวะในอากาศประเภทนี้มักจะประกอบด้วยสารเคมีต่างๆ เช่น
 
* [[แอลดีไฮด์]] (RCHO)
* [[ไนโตรเจนออกไซด์]] เช่น [[ไนโตรเจนไดออกไซด์]]
* [[Peroxyacyl nitrates]] (PAN)
* [[Tropospheric ozone]]
* [[สารอินทรีย์ระเหยง่าย]]
 
สารเคมีเหล่านี้ก่อให้เกิดหมอกควันแบบโฟโตเคมี ซึ่งเป็ญปัญหาของเมืองที่มีอุตสาหกรรมในปัจจุบัน ซึ่งมักเกิดขึ้นกับเมืองที่มีแดดแรง อากาศอบอุ่น และมียานพาหนะเป็นจำนวนมาก<ref>{{cite book |last=Miller, Jr. |first=George Tyler |title=Living in the Environment: Principles, Connections, and Solutions (12th Edition) |publisher=[[The Thomson Corporation]] |date=2002 |location=Belmont |pages=423 |isbn=0-534-37697-5}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 9 ⟶ 22:
* [[ฟ้าหลัว]]
* [[หมอกควันในภาคเหนือ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:มลพิษ]]
{{โครง}}
 
[[ar:ضبخان]]