ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังโยงานะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Eesk120 (คุย | ส่วนร่วม)
Eesk120 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 180:
 
==พัฒนาการ==
[[Image:Hiragana_origin.svg|thumb|400px|leftright|[[ฮิระงะนะ]] และมันโยงะนะแม่แบบ]]
[[Image:Katakana_origine.svg|thumb|400px|leftright|[[ฮิระงะนะ]] และมันโยงะนะแม่แบบ]]
 
อักษร[[คันจิ]]ในระบบมันโยงะนะ ต่อมาได้พัฒนาไปเป็นอักษร[[ฮิระงะนะ]] และ[[คะตะคะนะ]]
บรรทัด 189:
ส่วนอักษร[[คะตะคะนะ]]ก็ดัดแปลงมาจากอักษรมันโยงะนะเช่นกัน แต่ตัดเฉพาะบางส่วนของอักษรมันโยงะนะมาเป็นอักษรคะตะคะนะหนึ่งตัว อักษรคะตะคะนะกำเนิดใน[[สำนักสงฆ์]][[ยุคเฮอัน]] ใช้เสมือนการย่ออักษรมันโยงะนะเพื่อให้ง่ายต่อพระสงฆ์ในการศึกษาพระคัมภีร์
 
ตัวอย่างเช่น เสียง ''ru'' เขียนเป็นอักษร[[ฮิระงะนะ]]ว่า る ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมังโยงะนะ 留 แต่เขียนเป็นอักษร[[คะตะคะนะ]]ว่า ル ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมังโยงะนะ 流 โดยอักษรมังโยงะนะใช้เขียนแทนเสียง ''ru'' ทั้งคู่
 
การที่เสียง[[ภาษาญี่ปุ่น]]หนึ่ง[[พยางค์]]สามารถเขียนด้วยอักษร[[คันจิ]]หลายตัวนั้น ทำให้เกิดอักษร[[เฮนไตงะนะ]] (変体仮名 ''hentaigana'') ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของอักษร[[ฮิระงะนะ]]ขึ้นมา แต่ได้ถูกเลิกใช้อย่างเป็นทางการไปใน [[พ.ศ. 2443]]
 
ปัจจุบัน อักษรมังโยงะนะ ยังคงปรากฏอยู่ในชื่อสถานที่ต่างๆของ[[ญี่ปุ่น]] โดยเฉพาะบน[[เกาะคีวชู]] (九州 ''Kyūshū'') การใช้อักษร[[คันจิ]]อีกประเภท ที่มีลักษณะคล้ายกับมังโยงะนะ คือ [[อะเตะจิ]] (当て字, 宛字 ''ateji'') ซึ่งเป็นการเขียน[[คำยืม]]จากภาษาต่างประเทศ โดยใช้แทนเสียงมากกว่าความหมาย ตัวอย่างเช่น 倶楽部 (''kurabu'' คลับ) และ 珈琲 (''kōhii'' กาแฟ) เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันนี้ ยังคงมีใช้กันอยู่ในป้ายร้านค้า
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==