ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อณูชีววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: el:Μοριακή βιολογία; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อณูชีววิทยา''' ({{lang-en|Molecular biology}}) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง และการทำงานของ[[หน่วยพันธุกรรม]] ในระดับ[[โมเลกุล]] เป็นสาขาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างชีววิทยาและเคมี โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยามุ่งเน้นศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆภายในเซลล์ ซึ่งรวมถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสังเคราะห์ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ และ โปรตีน และรวมถึงว่าขบวนการเหล่านี้ถูกควบคุมอย่างไร
{{รอการตรวจสอบ}}
'''อณูชีววิทยา''' (Molecular biology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง และการทำงานของ[[หน่วยพันธุกรรม]] ในระดับ[[โมเลกุล]] เป็นสาขาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างชีววิทยาและเคมี โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี อณูชีววิทยามุ่งเน้นศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆภายในเซลล์ ซึ่งรวมถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างการสังเคราะห์ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ และ โปรตีน และรวมถึงว่าขบวนการเหล่านี้ถูกควบคุมอย่างไร
 
== ความสัมพันธ์ของอณูชีววิทยากับวิทยาศาสตร์ชีวภาพสาขาอื่นๆ ==
เส้น 11 ⟶ 10:
 
=== Polymerase chain reaction(PCR) ===
 
[[Polymerase chain reaction]] (PCR) เป็นกระบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง ซึ่งเลียนแบบการสังเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งมีชีวิต ผู้คิดค้นเทคนิคพีซีอาร์คือ Karry Mullis โดยส่วนมากรู้จักเทคนิคนี้ในเรื่องของการเพิ่มปริมาณของสารพันธุกรรม หรือ DNA
โดยใช้เครื่อง PCR machine หรือ Thermal cycler นั่นเอง
เส้น 24 ⟶ 22:
'''3. Extension'''
: ใส่ DNA polymerase ลงไปในระบบ เพื่อให้เกิดการสังเคราะห์ DNA สายใหม่ อุณหภูมิที่ใช้อยู่ในช่วง 72-75<sup>o</sup>c
 
== อ้างอิง ==
 
http://www.school.net.th/library/snet4/genetics/pcr.htm
 
=== อิเล็กโทรโฟรีซิส (Gel electrophoresis) ===
เป็นเทคนิคทางชีวเคมีอีกเทคนิคหนึ่งที่สำคัญยิ่งต่อการแยกชีวโมเลกุลของสิ่งมีชีวิตในสนามไฟฟ้า (Run จากขั้วลบของ power supply ไปยังขั้วบวก) เทคนิดนี้แบ่งออกได้หลายแบบตามชนิดของเจลและรูปแบบของการใช้งาน เช่น Agarose gel electrophoresis ใช้แยก DNA
Sodium Dodecyl Sulfate Polyacrylamide gel electrophoresis ใช้แยก Protein เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/veterin/vet69/Biochemistry%20Web%20Job/electrophoresis/gel%20electrophoresis.htm
 
=== ซัทเธิร์น บล็อททิง และ นอร์เธิร์นบล็อททิง (Southern blotting and Northern blotting) ===
เส้น 45 ⟶ 36:
* [[ชีวเคมี]]
* [[พันธุศาสตร์]]
 
== อ้างอิง ==
* http://www.school.net.th/library/snet4/genetics/pcr.htm
* http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/veterin/vet69/Biochemistry%20Web%20Job/electrophoresis/gel%20electrophoresis.htm
 
{{ชีววิทยา}}