ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 97:
หากไม่สามารถผ่าตัดเอาเนื้องอกออกได้ทั้งหมดมะเร็งท่อน้ำดีก็ถือเป็นมะเร็งที่ไม่มีทางรักษาให้หายได้ และในหลายๆ ครั้ง การที่จะประเมินว่าสามารถผ่าตัดเอาเนื้องอกออกได้ทั้งหมดหรือไม่ก็ต้องประเมินระหว่างการผ่าตัด<ref>{{cite journal |author=Su C, Tsay S, Wu C, Shyr Y, King K, Lee C, Lui W, Liu T, P'eng F |title=Factors influencing postoperative morbidity, mortality, and survival after resection for hilar cholangiocarcinoma |journal=Ann Surg |volume=223 |issue=4 |pages=384–94 |year=1996 |pmid=8633917 |doi=10.1097/00000658-199604000-00007}}</ref> ทำให้ผู้ป่วยจำนวนมากต้องได้รับการผ่าตัดสำรวจช่องท้อง เว้นเสียว่าจะมีข้อบ่งชี้ชัดเจนแล้วว่าเนื้องอกนั้นอยู่ในระยะที่ไม่สามารถรักษาได้โดยการผ่าตัด<ref name="feldman"/>
=== การรักษาร่วมด้วยเคมีบำบัดและรังสีรักษา ===
ถ้าสามารถผ่าตัดเอาเนื้องอกออกได้ ผู้ป่วยอาจต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดร่วม (adjuvant chemotherapy) หรือรังสีรักษาร่วม (adjuvant radiation therapy) หลังการผ่าตัดเพื่อเพิ่มโอกาสการรักษาหายขาด หากขอบชิ้นเนื้อไม่มีเซลล์มะเร็ง (negative tissue margins) หรือสามารถตัดชิ้นมะเร็งออกได้ทั้งหมดแล้วการรักษาร่วมเหล่านี้อาจให้ประโยชน์หรือไม่นั้นยังไม่ได้ข้อสรุป มีการศึกษาวิจัยที่ให้ผลทั้งว่าการรักษาร่วมในกรณีเช่นนี้มีประโยชน์<ref>{{cite journal |author=Todoroki T, Ohara K, Kawamoto T, Koike N, Yoshida S, Kashiwagi H, Otsuka M, Fukao K |title=Benefits of adjuvant radiotherapy after radical resection of locally advanced main hepatic duct carcinoma |journal=Int J Radiat Oncol Biol Phys |volume=46 |issue=3 |pages=581–7 |year=2000 |pmid=10701737}}</ref><ref>{{cite journal |author=Alden M, Mohiuddin M |title=The impact of radiation dose in combined external beam and intraluminal Ir-192 brachytherapy for bile duct cancer |journal=Int J Radiat Oncol Biol Phys |volume=28 |issue=4 |pages=945–51 |year=1994 |pmid=8138448}}</ref>และไม่มีประโยชน์<ref name="nakeeb"/><ref>{{cite journal |author=Gonz?lez Gonz?lez D, Gouma D, Rauws E, van Gulik T, Bosma A, Koedooder C |title=Role of radiotherapy, in particular intraluminal brachytherapy, in the treatment of proximal bile duct carcinoma |journal=Ann Oncol |volume=10 Suppl 4 |issue= |pages=215–20 |year= |pmid=10436826}}</ref><ref>{{cite journal |author=Pitt H, Nakeeb A, Abrams R, Coleman J, Piantadosi S, Yeo C, Lillemore K, Cameron J |title=Perihilar cholangiocarcinoma. Postoperative radiotherapy does not improve survival |journal=Ann Surg |volume=221 |issue=6 |pages=788–97; discussion 797–8 |year=1995 |pmid=7794082 |doi=10.1097/00000658-199506000-00017}}</ref> และจนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 2007 ก็ยังไม่มีการศึกษาวิจัยแบบ[[การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม]] (randomized controlled trial) ของเรื่องนี้ออกมา ส่วนบทบาทของการใช้การรักษาทั้งเคมีบำบัดและรังสีรักษาร่วม (combined chemoradiotherapy) ในสถานการณ์เช่นนี้นั้นยังไม่เป็นที่แน่ชัด อย่างไรก็ดี หากผลขอบชิ้นเนื้อพบมีเซลล์มะเร็ง (positive margin) จะเป็นการบ่งชี้ว่ายังไม่สามารถเอาก้อนเนื้องอกออกได้หมดด้วยการผ่าตัด ดังนั้นการรักษาร่วมด้วยการฉายรังสี (และอาจรวมถึงเคมีบำบัด) ในกรณีเช่นนี้จึงได้รับการยอมรับโดยทั่วไปตามข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน<ref name="nccn">{{PDFlink|[http://www.nccn.org/professionals/physician_gls/PDF/hepatobiliary.pdf National Comprehensive Cancer Network (NCCN) guidelines on evaluation and treatment of hepatobiliary malignancies]|216&nbsp;KB}}. Accessed March 13, 2007.</ref>
 
=== การรักษาโรคในระยะลุกลาม ===
ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีจำนวนมากได้รับการวินิจฉัยโรคเมื่อโรคลุกลามไปมากถึงระยะที่ไม่สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัดแล้ว<ref>{{cite journal |author=Vauthey J, Blumgart L |title=Recent advances in the management of cholangiocarcinomas |journal=Semin. Liver Dis. |volume=14 |issue=2 |pages=109–14 |year=1994 |pmid=8047893 |doi=10.1055/s-2007-1007302}}</ref>ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้มักได้รับการรักษาด้วย[[เคมีบำบัด]]แบบ[[การรักษาแบบบรรเทาอาการ|บรรเทาอาการ]] (palliative chemotherapy) โดยอาจใช้ร่วมกับรังสีรักษา มีการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมที่รับรองการรักษาด้วยเคมีบำบัดแล้วว่าสามารถเพิ่ม[[คุณภาพชีวิต]]และยืดอายุขัยของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีระยะที่ไม่สามารถได้ด้วยการผ่าตัดได้<ref>{{cite journal |author=Glimelius B, Hoffman K, Sjödén P, Jacobsson G, Sellström H, Enander L, Linné T, Svensson C |title=Chemotherapy improves survival and quality of life in advanced pancreatic and biliary cancer |journal=Ann Oncol |volume=7 |issue=6 |pages=593–600 |year=1996 |pmid=8879373}}</ref> แต่ยังไม่มีสูตรการรักษาใดๆ ที่ได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากล ทำให้ปัจจุบันยังมีคำแนะนำให้มีการทดลองหาวิธีใหม่ๆ ในการรักษาต่อไปอีก<ref name="nccn"/> ยาเคมีบำบัดที่ใช้รักษามะเร็งท่อน้ำดีมีเช่น [[5-fluorouracil]] ร่วมกับ [[leucovorin]]<ref>{{cite journal |author=Choi C, Choi I, Seo J, Kim B, Kim J, Kim C, Um S, Kim J, Kim Y |title=Effects of 5-fluorouracil and leucovorin in the treatment of pancreatic-biliary tract adenocarcinomas |journal=Am J Clin Oncol |volume=23 |issue=4 |pages=425–8 |year=2000 |pmid=10955877 |doi=10.1097/00000421-200008000-00023}}</ref> [[gemcitabine]] เดี่ยวๆ<ref>{{cite journal |author=Park J, Oh S, Kim S, Kwon H, Kim J, Jin-Kim H, Kim Y |title=Single-agent gemcitabine in the treatment of advanced biliary tract cancers: a phase II study |journal=Jpn J Clin Oncol |volume=35 |issue=2 |pages=68–73 |year=2005 |pmid=15709089 |doi=10.1093/jjco/hyi021}}</ref> หรือ gemcitabine ร่วมกับ [[cisplatin]]<ref>{{cite journal |author=Giuliani F, Gebbia V, Maiello E, Borsellino N, Bajardi E, Colucci G |title=Gemcitabine and cisplatin for inoperable and/or metastatic biliary tree carcinomas: a multicenter phase II study of the Gruppo Oncologico dell'Italia Meridionale (GOIM) |journal=Ann Oncol |volume=17 Suppl 7 |issue= |pages=vii73-vii77 |year= |pmid=16760299}}</ref> [[irinotecan]]<ref>{{cite journal |author=Bhargava P, Jani C, Savarese D, O'Donnell J, Stuart K, Rocha Lima C |title=Gemcitabine and irinotecan in locally advanced or metastatic biliary cancer: preliminary report |journal=Oncology (Williston Park) |volume=17 |issue=9 Suppl 8 |pages=23–6 |year=2003 |pmid=14569844}}</ref> หรือ [[capecitabine]]<ref>{{cite journal |author=Knox J, Hedley D, Oza A, Feld R, Siu L, Chen E, Nematollahi M, Pond G, Zhang J, Moore M |title=Combining gemcitabine and capecitabine in patients with advanced biliary cancer: a phase II trial |journal=J Clin Oncol |volume=23 |issue=10 |pages=2332–8 |year=2005 |pmid=15800324 |doi=10.1200/JCO.2005.51.008}}</ref> การศึกษาวิจัยนำร่องบางชิ้นชี้ว่าผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีระยะลุกลามอาจได้รับประโยชน์จากยากลุ่ม [[tyrosine kinase]] inhibitor อย่าง [[erlotinib]]<ref>{{cite journal |author=Philip P, Mahoney M, Allmer C, Thomas J, Pitot H, Kim G, Donehower R, Fitch T, Picus J, Erlichman C |title=Phase II study of erlotinib in patients with advanced biliary cancer |journal=J Clin Oncol |volume=24 |issue=19 |pages=3069–74 |year=2006 |pmid=16809731 |doi=10.1200/JCO.2005.05.3579}}</ref>