ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โดโลไมต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jettana s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Dolomite_Morocco.jpg‎|thumb]]
'''โดโลไมต์''' ([[{{lang-en|Dolomite]]}})''' เป็นชื่อแร่ ตั้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่[[นักเคมี]][[ชาวฝรั่งเศส]] [[Dolomieu]] (พ.ศ. 2293-2344)
 
รูปผลึกระบบเฮกซะโกนอล ผลึกของแร่มักจะพบในรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ผิวหน้าผลึกมักจะโค้ง บางครั้งจะโค้งเป็นรูปคล้ายอานม้า ผลึกในแบบอื่นมีพบได้บ้างแต่น้อย ซึ่งอาจพบเป็นเม็ดหยาบๆ ไปจนกระทั่งเม็ดเล็กเกาะกันแน่น แข็ง 3.5-4 ถ.พ. 2.85 วาวคล้ายแก้ว บางชนิดวาวคล้ายมุก (Pearl Spar) สีปกติมักจะมีสีออกชมพู สีเนื้อ อาจไม่มีสีหรือพบสีขาว เทา เขียว น้ำตาล หรือสีดำ เนื้อแร่มีทั้งโปร่งใสและโปร่งแสง
 
มีสูตรเคมี CaMg(CO3)2 มี CaO 30.4 % MgO 21.7% และ Co2 47.9% โดยปกติโดโลไมต์มีสัดส่วนของ CaCO3 ต่อ MgCO3 ประมาณ 1:1 ถ้ามี [[Ferrous iron]] เข้ามาแทนที่[[แมกนีเซียม]]และปริมาณมากกว่าแมกนีเซียมแล้วจะเรียก แองเคอไรต์ ([[Ankerite]])
 
ลักษณะเด่นและวิธีตรวจ ทำปฏิกิริยากับกรดเกลือ([[HClกรดเกลือ]] (HCl) แต่ช้ามาในอุณหภูมิธรรมดา นอกจากจะบดเนื่อแร่ให้เป็นก้อนเล็กๆ ละเอียด จึงละลายในกรดเป็นฟองฟู่ หากไม่บดต้องใช้กรดไฮโดรคลอริกร้อนๆจึงจะทำปฎิกิริยาเป็นฟองฟู่ รูปผลึกเหลี่ยมขนมเปียกปูนมักจะโค้งและมีสึออกสีเนื้อๆเนื้อปกติมักจะด้าน
 
มีกำเนิดเช่นเดียวกับแคลไซต์ พบในหินปูนโดโลมิติก ([[Dolomitic limestone]]) หรือในหินอ่อนโดโลมิติก ([[Dolomitic marble]]) โดโลไมต์ที่พบมีมวลขนาดใหญ่ๆนั้น เข้าใจกันว่าเป็นการกำเนิดแบบทุติยภูมิ ซึ่งเกิดจากหินปูนที่มีอยู่เดิมถูกแทนที่ด้วยธาตุแมกนีเซียม หรือมักเกิดเป็นเพื่อนแร่ในสายตะกั่วหรือสังกะสีซึ่งตัดผ่านหินปูน
 
ในประเทศไทยพบที่ อ.ท่าม่วง เขาถ้ำ อ.เมือง วังกะโด้ง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี กาะสีชัง จ.ชลบุรี และที่เขารักเกียด อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
ต่างประเทศ แบบผลึกพบที่บินเนนธาล ([[Binnenthal]]) ในสวิตเซอร์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกา พบที่โจพลิน([[Joplinโจพลิน]]) และมิสซูรี([[Missouriมิสซูรี]])
 
ใช้เป็นหินก่อสร้างหรือหินประดับ ทำ[[ปูนซีเมนต์]]บางชนิด ใช้ทำแมกนีเซียมซึ่งเป็นวัสดุทนไฟใช้สำหรับการบุเตาถลุงเหล็ก โดยเป็นเตาคอนเวอร์ในการผลิตเหล็กหล้าเหล็กกล้าขั้นต้น โดโลไมต์เป็นสินแร่หลักของโลหะแมกนีเซียม ใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้วบางชนิด เช่น พวก แก้วแผ่น ([[Special glass]])เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:แร่คาร์บอเนต]]
[[หมวดหมู่:หินตะกอน]]
[[หมวดหมู่:หินปูน]]
{{โครงธรณีวิทยา}}
 
[[ar:دولوميت (معدن)]]