ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์ของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับการใช้ภาษาที่ไม่มีอคติทางเพศ
ปรับการใช้ภาษาที่ไม่มีอคติทางเพศ
บรรทัด 16:
 
=== สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ===
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีกรณีของ[[กรมหลวงรักษรณเรศร]] พระราชโอรสในรัชกาลที่ 1 ซึ่งมีคณะโขนละครในวังที่ผู้เล่นเป็นผู้ชายล้วน ได้มีพฤติกรรมรักร่วมเพศ เพศเดียวกันกับบรรดาโขนละครที่เลี้ยงไว้ ไม่สนใจเลี้ยงลูกเมียจนเป็นที่รับรู้กันทั่วไป ทำให้เกิดขัดเคืองพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จึงโปรดเกล้าให้ ถอดจากกรมหลวงให้เรียกว่า "หม่อมไกรสร" แล้วให้ไป[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ที่[[วัดปทุมคงคา]] แต่อย่างไรก็ตาม บางกระแสก็ระบุว่าการตัดสินประหารชีวิต เป็นเหตุผลด้านการเมืองว่าเป็นผู้มัก ใหญ่ใฝ่สูง มากกว่าพฤติกรรมรักร่วมเพศ ส่วนพี่ชายของกรมหลวงรักษรณเรศร ก็เป็นผู้มีพฤติกรรมรักร่วมเพศโดยไม่อยู่กินกับลูกเมียเช่นเดียวกัน แต่กลับไม่ถูกตำหนิหรือลงโทษแต่ประการใด
 
จึงโปรดเกล้าให้ ถอดจากกรมหลวงให้เรียกว่า "หม่อมไกรสร" แล้วให้ไป[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ที่[[วัดปทุมคงคา]] แต่อย่างไรก็ตาม บางกระแสก็ระบุว่าการตัดสินประหารชีวิต เป็นเหตุผลด้านการเมือง ว่าเป็นผู้มักใหญ่ใฝ่สูง มากกว่าพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน ส่วนพี่ชายของกรมหลวงรักษรณเรศร ก็เป็นผู้มีพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน โดยไม่อยู่กินกับลูกเมียเช่นกัน แต่กลับไม่ถูกตำหนิหรือลงโทษแต่ประการใด
หลักฐานพฤติกรรม รักร่วมเพศชายหรือที่เรียกว่า "เล่นสวาท" ยังปรากฏหลักฐานในประชุมประกาศในรัชกาลที่ 4 ที่บันทึกพฤติกรรมของพระภิกษุที่ว่า "...บางจำพวกเป็นคนเกียจคร้าน กลัวจะเกณฑ์ให้ราชการ หลบลี้หนีเข้าบวชเป็นภิกษุ สามเณร อาศัยพึ่งพระศาสนาเลี้ยงชีวิต แล้วประพฤติอนาจารทุจริตต่างๆ จนถึงเล่นสวาทเป็นปาราชิกก็มีอยู่ โดยมาก..."<ref>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า, ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2399-2400</ref> โดยคำว่า "เล่นสวาท" ยังได้ใช้อย่างกว้างขวางในยุคนั้น ส่วนพฤติกรรมการ "เล่นเพื่อน" ที่เป็นพฤติกรรมรักร่วมเพศฝ่ายหญิง มักเกิดขึ้นกับผู้หญิงชาววังเพราะอยู่รวมกันหลายคน จึงมีการประกาศใช้กฎมณเฑียรบาลข้อที่ 124 ดังความว่า "อนึ่งสนม กำนัลคบผู้หญิงหนึ่งกัน ทำดุจชายเป็นชู้เมียกัน ให้ลงโทษด้วยลวดหนัง 50 ที ศักคอประจานรอบพระราชวัง ที่หนึ่งให้เอาเป็นชาวสตึง ที่หนึ่งให้แก่พระเจ้าลูก เธอหลานเธอ" พฤติกรรมของผู้หญิงในพระราชสำนักเป็นที่โจษจัน มากจนในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเคยมีพระราชหัตถเลขากำชับสั่งพระเจ้าลูกยาเธอฯ ทั้งหลายห้ามเล่นเพื่อนด้วย
 
หลักฐานพฤติกรรมชายที่รักเพศเดียวกัน หรือที่เรียกว่า "เล่นสวาท" ยังปรากฏหลักฐานในประชุมประกาศในรัชกาลที่ 4 ที่บันทึกพฤติกรรมของพระภิกษุที่ว่า
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงออกออกกฎหมายที่พาดพิงถึงพฤติกรรมรักร่วมเพศ อย่างเช่น ประมวลกฎหมายลักษณะ ร.ศ.127 ในส่วนที่ 6 ที่ว่าด้วยความผิดที่กระทำอนาจาร หมวดที่ 1 ความผิดฐานกระทำอนาจารเกี่ยวกับสาธารณะ มาตรา 124 ที่กล่าวว่า "ผู้ใดกระทำชำเราผิดธรรมดามนุษย์ ด้วยชายก็ดี หญิงก็ดี หรือกระทำ ชำเราด้วยสัตว์เดียรฉานก็ดี ท่านว่ามันมีความผิด ต้องรวางโทษติดคุกตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป จนถึง 3 ปี แลให้ปรับตั้งแต่ 50 บาทขึ้นไปถึง 500 บาทด้วยอิกโสด 1"<ref>กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 ส่วนที่ 6 หมวดที่ 1 มาตรา 242, หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, มร.5ย/24</ref> ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ที่สังคมได้ได้รับวัฒนธรรมตะวันตกค่อนข้างมาก พระองค์ยังทรงเข้าใจเรื่องพฤติกรรมรักร่วมเพศได้เป็นอย่างดี ถึงขนาดทรงนิพนธ์บทความในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิตของพระองค์ ในหัวเรื่อง "กะเทย" และ "ทำไมกะเทยจึงรู้มากในทางผัวๆ เมียๆ ?" ที่ให้ความรู้ อธิบายความเข้าใจอย่างถูกต้อง ไม่เกิดการรังเกียจหรือทำร้ายบุคคลในกลุ่มดังกล่าว
 
"...บางจำพวกเป็นคนเกียจคร้าน กลัวจะเกณฑ์ให้ราชการ หลบลี้หนีเข้าบวชเป็นภิกษุ สามเณร อาศัยพึ่งพระศาสนาเลี้ยงชีวิต แล้วประพฤติอนาจารทุจริตต่างๆ จนถึงเล่นสวาทเป็นปาราชิกก็มีอยู่ โดยมาก..."<ref>พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า, ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2399-2400</ref>
ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการใช้คำว่า "Homosexual" เพิ่มมาอีก จากงานเขียนบทความเรื่อง "กามรมณ์และ สมรส" ในหนังสือรวมปกฐกถาเกี่ยวกับปัญหาชีวิตของคนทั่วไปตามหลักจิตวิทยา อธิบายให้ความรู้ด้านจิตวิทยามากกว่าเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมรัก ร่วมเพศ พฤติกรรมรักร่วมเพศ โดยในยุคนี้เป็นยุคที่วงการแพทย์ไทยได้เริ่มเข้ามาศึกษาและหาแนวทางแก้ไขรักษา กลุ่มที่มีพฤติกรรมดังกล่าว
 
โดยคำว่า "เล่นสวาท" ยังถูกใช้อย่างกว้างขวางในยุคนั้น ส่วนพฤติกรรมการ "เล่นเพื่อน" ที่เป็นพฤติกรรมของหญิงที่รักเพศเดียวกัน มักเกิดขึ้นกับผู้หญิงชาววังเพราะอยู่รวมกันหลายคน จึงมีการประกาศใช้กฎมณเฑียรบาลข้อที่ 124 ดังความว่า
 
"อนึ่งสนม กำนัลคบผู้หญิงหนึ่งกัน ทำดุจชายเป็นชู้เมียกัน ให้ลงโทษด้วยลวดหนัง 50 ที ศักคอประจานรอบพระราชวัง ที่หนึ่งให้เอาเป็นชาวสตึง ที่หนึ่งให้แก่พระเจ้าลูกเธอหลานเธอ" พฤติกรรมของผู้หญิงในพระราชสำนักเป็นที่โจษจัน มากจนในสมัยรัชกาลที่ 4 ทรงเคยมีพระราชหัตถเลขากำชับสั่งพระเจ้าลูกยาเธอฯ ทั้งหลายห้ามเล่นเพื่อนด้วย
 
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงออกออกกฎหมายที่พาดพิงถึงพฤติกรรมรักเพศเดียวกัน อย่างเช่น [[ประมวลกฎหมาย]]ลักษณะ ร.ศ.127 ในส่วนที่ 6 ที่ว่าด้วยความผิดที่กระทำอนาจาร หมวดที่ 1 ความผิดฐานกระทำอนาจารเกี่ยวกับสาธารณะ มาตรา 124 ที่กล่าวว่า
 
"ผู้ใดกระทำชำเราผิดธรรมดามนุษย์ ด้วยชายก็ดี หญิงก็ดี หรือกระทำ ชำเราด้วยสัตว์เดียรฉานก็ดี ท่านว่ามันมีความผิด ต้องรวางโทษติดคุกตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป จนถึง 3 ปี แลให้ปรับตั้งแต่ 50 บาทขึ้นไปถึง 500 บาทด้วยอิกโสด 1"<ref>กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.127 ส่วนที่ 6 หมวดที่ 1 มาตรา 242, หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, มร.5ย/24</ref>
 
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ที่สังคมได้ได้รับวัฒนธรรมตะวันตกค่อนข้างมาก พระองค์ยังทรงเข้าใจเรื่องพฤติกรรมรักเพศเดียวกันได้เป็นอย่างดี ถึงขนาดทรงนิพนธ์บทความในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิตของพระองค์ ในหัวเรื่อง "กะเทย" และ "ทำไมกะเทยจึงรู้มากในทางผัวๆ เมียๆ ?" ที่ให้ความรู้ อธิบายความเข้าใจอย่างถูกต้อง ไม่เกิดการรังเกียจหรือทำร้ายบุคคลในกลุ่มดังกล่าว
 
ในสมัยรัชกาลที่ 7 มีการใช้คำว่า "[[Homosexual]]" เพิ่มมาอีก จากงานเขียนบทความเรื่อง "กามรมณ์และ รมณ์และสมรส" ในหนังสือรวมปกฐกถาเกี่ยวกับปัญหาชีวิตของคนทั่วไปตามหลักจิตวิทยา อธิบายให้ความรู้ด้านจิตวิทยามากกว่าเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรมรัก ร่วมเพศ พฤติกรรมรักร่วมเพศเพศเดียวกัน โดยในยุคนี้เป็นยุคที่วงการแพทย์ไทยได้เริ่มเข้ามาศึกษาและหาแนวทางแก้ไขรักษา กลุ่มที่มีพฤติกรรมดังกล่าว
 
=== ยุคเริ่มต้นประชาธิปไตย ===