ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบลำธาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ระบบลำธาร''' หรือ drainage system หรือ drainage pattern เป็นลักษณะของทิศทางการไหลของธารน้ำ แม้ว่าสาขา[[แม่น้ำ]]ทั้งหลายจะไหลไปทางเดียวกัน แต่รูปร่างหรือรูปแบบแม่น้ำ มักมีลักษณะณะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากชนิดหิน (lithology) ลักษณะโครงสร้างหิน (rock structure) และความลาดชันที่แตกต่างกันก็ได้ ระบบธารน้ำที่พบเห็นบ่อย ๆ ได้แก่
{{เก็บกวาด}}
 
ระบบลำธาร หรือ drainage system หรือ drainage pattern เป็นลักษณะของทิศทางการไหลของธารน้ำ แม้ว่าสาขาแม่น้ำทั้งหลายจะไหลไปทางเดียวกัน แต่รูปร่างหรือรูปแบบแม่น้ำ มักมีลักษณะณะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากชนิดหิน(lithology) ลักษณะโครงสร้างหิน(rock structure) และความลาดชันที่แตกต่างกันก็ได้ ระบบธารน้ำที่พบเห็นบ่อย ๆ ได้แก่
1)* ระบบกิ่งไม้ (dendritic pattern) ซึ่งแสดงสาขาของลำธารให้มีลักษณะคล้ายกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ใหญ่ ซึ่งมักพบในบริเวณที่พื้นดินประกอบด้วยหินที่มีเนื้อเดียวกัน เช่น [[หินทราย]] [[หินแกรนิต]] หรือ[[หินไนส์]] [[แม่น้ำมูล]]และ[[แม่น้ำชี]]ใน[[ภาคอีสาน]]ที่ไหลลงสู่[[แม่น้ำโขง]]ก็มีลักษณะการไหลเช่นนี้
2)* ระบบตั้งฉาก (rectangular pattern) เกิดในบริเวณที่มีรอยแตกของหินตัดกันเป็นมุม 2 แนวตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉากซึ่งกันและกัน
3)* ระบบกึ่งขนานหรือระบบเถาองุ่น (trellis pattern) เกิดจากการสลับชั้นกันระหว่างชั้นหินแข็งกับชั้นหินอ่อน
4)* ระบบขนาน (parallel pattern) เกิดเมื่อในบริเวณนั้นมีรอยแตกของหินเด่นชัดเพียงทิศเดียว หรือรอยแตกที่ได้ขนานกัน
5)* ระบบรัศมี (radial pattern) เกิดในบริเวณที่เป็น[[ภูเขาไฟลูกโดด]] เช่นใน[[ญี่ปุ่น]] หรือ[[เม็กซิโก]] ลำธารมักจัดตัวกันในลักษณะที่สาขาแผ่ออกไปเป็นเส้นรัศมีโดยรอบเขา
6)* ระบบวงปี (annular pattern) เกิดในกรณีที่ลำธารพัฒนาบนชั้นหินที่วางซ้อนกันเกือบอยู่ในแนวระดับในภูเขาหนึ่ง ๆ
 
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานวิทยา]]
[[หมวดหมู่:อุทกวิทยา]]
 
[[en:Drainage system (geomorphology)]]