ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอโกรกพระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 33:
คำว่า"โกรกพระ" มีตำนานเล่าสืบต่อกันมาว่า ในการเดินทางไปมาของอำเภอโกรกพระแสนจะลำบากมาก มีทางเดียวคือทางน้ำโดยการใช้เรือ มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นสายหลัก น้ำในแต่ละช่วงนั้นไหลแรงและเชี่ยวมาก มีเรื่องเล่าว่า มีชาวบ้านหลายคนได้นำพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่งลงแพจากทางเหนือสู่ทางใต้เพื่อนำมาสักการะบูชา ขณะที่ล่องแพมาถึงบริเวณนั้น แพได้แตก พระพุทธรูปจมลงใต้น้ำ ชาวบ้านเสียดายพระพุทธรูปเป็นอย่างมาก ได้พยายามช่วยกันหาวิธีที่จะนำขึ้นจากน้ำให้ได้ จึงได้ ้ทำพิธีใช้เวทมนต์คาถาจุดเทียนปักบนแพเพื่อหาทิศทางของพระพุทธรูป แต่เทียนก็ลอยตามพระพุทธรูปเคลื่อนย้ายไปมาอยู่เรื่อย ๆ แต่ก็ไม่สามารถนำขึ้นมาได้เพราะเวทมนต์ คาถายังขลังไม่พอ ประกอบกับมีชาวบ้านแห่แหนมาดูพิธีดังกล่าวมากมายจึงเป็นเหตุให้พิธีแตก จึงได้ล้มเลิกที่จะนำพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำ จึงเชื่อกันว่า พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ก็ยังคงจมอยู่ใต้น้ำตรงบริเวณนั้น คำว่า“โกรกพระ” จึงเป็นชื่อของอำเภอโกรกพระตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
คำขวัญ “ โกรกพระ สวนสวย บึงงาม สมญานามเมืองลุงเชย ”
ส่วนคำว่า"สวนสวย" แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีสวนที่ปลูกผลไม้นานาชนิด มีรสหอมหวาน คุณภาพดี อันได้แก่ ละมุด กล้วย มะละกอ กระท้อน ฝรั่งมะม่วง เป็นต้น
เนื่องในโอกาสที่อำเภอโกรกพระมีอายุครบ 101 ปี (ปี พ.ศ. 2543) ประชาชนชาวโกรกพระจึงได้ร่วมกันตั้งสมญานามของอำเภอ ซึ่งมีความหมายดังนี้
 
ส่วนคำว่า"สวนสวย" แสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีสวนที่ปลูกผลไม้นานาชนิด มีรสหอมหวาน คุณภาพดี อันได้แก่ ละมุด กล้วย มะละกอ กระท้อน ฝรั่งมะม่วง เป็นต้น
และ"บึงงาม" เป็นเพราะอำเภอโกรกพระมีแม่น้ำ แคว ห้วย หนอง คลอง บึง จำนวนมาก และมีทัศนียภาพที่สวยงามประชาชนได้อาศัยแหล่งน้ำเหล่านี้ดำรงชีวิตและสืบสานวัฒนธรรมทางน้ำตลอด
 
และ"บึงงาม" เป็นเพราะแสดงความหมายว่า อำเภอโกรกพระมีแม่น้ำ แคว ห้วย หนอง คลอง บึง จำนวนมาก และมีทัศนียภาพที่สวยงามประชาชนได้อาศัยแหล่งน้ำเหล่านี้ดำรงชีวิตและสืบสานวัฒนธรรมทางน้ำตลอด
ส่วน"เมืองลุงเชย" ก็เพื่อยกย่อง"ลุงเชย" จาก “พล นิกร กิมหงวน”
 
สมญานามเมืองลุงเชยสื่อความหมายว่าลุงเชยอันเป็นตัวละครหนึ่งในอมตนิยาย“พลนิกร กิมหงวน” ของ ป.อินทรปาลิต มาจากอำเภอโกรกพระลุงเชยซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของคนโกรกพระ มีนิสัย ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา และสมถะ
 
== การปกครองส่วนภูมิภาค ==