ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โกเมน"

เพิ่มขึ้น 79 ไบต์ ,  13 ปีที่แล้ว
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
(แจ้งโครงอย่างรวดเร็ว)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{เก็บกวาด}}
[[ไฟล์:Garnet.uvarovite.500pix.jpg|thumb]]
'''โกเมน''' หรือชื่อทางวิชาการว่า '''การ์เนต''' ({{lang-en|Garnet}}) มาจาก[[ภาษาละติน]]ว่า ''granatus'' แปลว่า เมล็ดพืช
 
=== ไพโรป (Pyrope) ===
จะมี สีส้มอมแดง ถึงแดงอมม่วงเล็กน้อย สีสดกว่าการ์เนตชนิดอื่น (Cr3+, Fe2+) มีแหล่งกำเนิดสำคัญบริเวณ[[อัฟริกาใต้]] เชกโกสโลวาเกียเ[[ชกโกสโลวาเกีย]] และทานซาเนีย[[แทนซาเนีย]] ซึ่งเราสามารถจำแนกความแตกต่างของไพโรปออกจากการ์เนตอื่น ๆ โดยใช้
 
* ค่าดัชนีหักเห 1.720 - 1.756 ปรกติ 1.746
 
=== อัลแมนดีน (Almandine) ===
จะมี สีส้มอมแดง แดงอมม่วงเล็กน้อย โทนสีออกจะมืดตลอด (Fe2+, Cr3+) ลักษณะเด่นของอัลแมนดีนคือมลทินภายในจะมีลักษณะคล้ายเข็มตัดกันด้วยมุม 40/110° หรือ เห็นผลึกเซอร์คอนล้อมด้วยวงแหวน แหล่งกำเนิดจะอยู่ใน[[ประเทศอินเดีย]] [[ศรีลังกา]] [[สหรัฐอเมริกา]] และ [[มาดากัสการ์]] เนื่องจากอัลแมนดีนเป็นการ์เนตที่หาได้ง่าย ราคาไม่แพง จึงเป็นที่นิยมในการนำมา ใช้เป็นพลอยปะ ด้านบนของแก้ว (Garnet - glass doublets) เพื่อเลียนแบบทับทิม หรือ ไพลินที่เป็นอัญมณีราคาแพง
 
* ค่าดัชนีหักเห 1.760 - 1.820 ปรกติ 1.790 (จะสูงกว่าไพโรป เพราะมี Feในองค์ประกอบ)
 
=== สเปสซาทีน (Spessatine) ===
จะมีสีส้มอมเหลืองถึงส้มอมแดง มักจะต้องมีสีส้มติดอยู่เสมอ (อันเนื่องจากธาตุ Mn2+, Fe3+) ลักษณะเด่นของสเปสซาทีนคือเป็นแร่โปร่งใส ออกโทนสีส้มเสมอคล้าย[[เฮสโซไนต์]] แต่แยกได้โดยใช้ค่าดัชนีหักเห แหล่งกำเนิดคุณภาพดีมาจากศรีลังกา สหรัฐอเมริกา [[บราซิล]] และ มาดากาสก้า
 
* ค่าดัชนีหักเห 1.790 - 1.814 ปรกติ 1.810
 
==== ไฮโดรกรอสซูลา (Hydrogrossular) ====
หรือกรอสซูลาแบบโปร่งแสงที่เป็นเม็ดละเอียดเนื้อแน่น มีสีเขียว (Cr3+) เรียก “หยกทรานสเวิล” (Transvaal Jade) หรือ “หยกอัฟริกา” (African Jade) เพราะมีสีคล้ายหยก บางครั้งอาจพบมีสีแดง, ชมพู (Mn3+) ลักษณะเด่นที่พบในเนื้อแร่มักมีมลทินเป็นจุดดำ ๆ ของแร่[[โครไมต์]] (Chromite) และ[[แมกนีไทต์]] (Magnetite) อาจมีรอยแตกเป็นเสี้ยน มีความวาวเป็นแบบขี้ผึ้ง แหล่งกำเนิดจะอยู่ที่อัฟริกาใต้ คานาดา
 
-* ค่าดัชนีหักเห 1.690 - 1.730 - เขียว, 1.700 - 1.712 - แดง
-* ความถ่วงจำเพาะ (ถ.พ.) 3.30 - 3.50 - เขียว, 3.32 - 3.36 - แดง
 
=== แอนดราไดต์ (Andradite) ===
 
==== ดีมานทอยด์ (Demantoid) ====
มีสีเขียวอ่อนถึงเข้ม หรือเขียวอมเหลือง (Cr3+) มีชื่อมาจาก[[ภาษาดัชช์]] แปลว่า “เพชร” เพราะมีการกระจายแสงสีรุ้งได้ดีมากกว่าเพชรจึงมีไฟดี สีสวย หายาก มีความวาวแบบเพชร ลักษณะเด่นภายในเนื้อแร่จะพบมลทินเส้นเข้มโค้งคล้าย“คล้าย “หางม้า” (Horse-tail) ที่มี สีน้ำตาลอมเหลืองของแร่[[บิสโซไลต์]] (Byssolite) แหล่งกำเนิดคุณภาพดีมาจาก[[รัสเซีย]] ใกล้เขายูราล ที่อื่น ๆ เช่น [[อิตาลี]]
 
-* ค่าดัชนีหักเห 1.855 - 1.895 ปรกติ 1.880 (สูงมาก)
-* ความถ่วงจำเพาะ (ถ.พ.) 3.81 - 3.87 ปรกติ 3.84
 
=== Malaya or Malaia Garnet (Mg,Mn) 3Al2 (SiO4) 3 ===
จะออกสีส้มอมชมพู ส้มอมแดง ส้มอมเหลือง ส้มอมน้ำตาล ถึงชมพู ปรกติมีสีส้มเสมอ แหล่งกำเนิดจะอยู่ที่แทนซาเนีย
-* ค่าดัชนีหักเห 1.42 – 1.78 ปรกติ 1.76
-* ความถ่วงจำเพาะ (ถ.พ.) 3.78 - 3.85 ปรกติ 3.80 หรือน้อยกว่า
 
[[หมวดหมู่:อัญมณี]]