ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดราชผาติการามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''วัดราชผาติการาม''' เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่เลขที่ 147 [[ถนนราชวิถี]] แขวงวชิรพยาบาล [[เขตดุสิต]] กรุงเทพมหานคร
{{ลบ|ไม่เหมาะสม}}
สภาพฐานะและที่ตั้ง
วัดราชผาติการามเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี
แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
 
 
== อาณาเขต ==
* ทิศเหนือ ติดบ้านพระยากฤตนิรุตติ์วังกรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ
* ทิศใต้ ติดกับสะพานกรุงธน
 
* ทิศใต้ตะวันออก ติดกับสะพานกรุงธนถนนขาว
* ทิศตะวันตก ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา
 
ทิศตะวันออก ติดกับถนนขาว
 
ทิศตะวันตก ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา
 
== ลักษณะพื้นที่==
เดิมเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีกำแพงล้อมรอบ นับจากถนนขาวเป็นแนวตรงไปจด[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้านเหนือเเละใต้ แต่เดิมแรกตั้งวัดเป็นมหาสีมา แม้ถนนซังฮี้ (ถนนราชวิถี)ผ่านเข้าออกวัดไม่สะดวกในการทำสังฆกรรม [[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์]] [[วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม]] จึงโปรดให้ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ) วัดเทพศิรินทราวาส จัดผูกพันธสีมาเฉพาะเขตพระอุโบสถ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2471 กำหนดเขตกว้าง 9 เมตร
ยาว 28 เมตร
 
== ความเป็นมา ==
วัดราชผาติการาม เป็นวัดโบราณ เดิมชื่อวัดส้มเกลี้ยง เดิมตั้งอยู่บ้านญวณ หลัง[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] ต่อมาได้ร้างลง เพราะ ชาวญวณอพยพมาบริเวณนั้น
หลังโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ต่อมาได้ร้างลง เพราะ ชาวญวณอพยพมาบริเวณนั้น
ได้รื้อเอาอิฐไปสร้างสถานที่ต่างๆจนแทบไม่เหลือสภาพวัดเลย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างวัดใหม่ เป็นการผาติกรรมแทนวัดส้มเกลี้ยงและได้พระราชทานนามใหม่ว่า วัดราชผาติการาม อันหมายถึง วัดที่พระราชาทรงผาติกรรมแลกเปลี่ยน ทดแทน ให้เจริญขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2379 และภายหลังก็ขึ้นทะเบียนวัดราชผาติการามเป็นพระอารามหลวง
 
เส้น 26 ⟶ 18:
 
== พระเถระของวัด ==
* พระครูโกฑัญญูธรรมธาดา(ดิศ)เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดราชผาติการาม เป็นสัทธิวิหาริกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
* พระภัททิยธรรมธาดา(แจ้ง)เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2ครองวัดประมาณ 8-9 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้ายให้ไปเป็นเจ้าคณะจังหวัด ณ จ.สงขลา ที่วัดมัชฌิมาวาส
 
* พระครูโกฑัญญูธรรมธาดา(โต)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 3ภายหลังลาสิกขาไปรับใช้ราชการใน จ.พระนคร (ภายหลังคือเขตพระนคร)
พระภัททิยธรรมธาดา(แจ้ง)เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2ครองวัดประมาณ 8-9 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงย้ายให้ไปเป็นเจ้าคณะจังหวัด ณ จ.สงขลา ที่วัดมัชฌิมาวาส
* พระครูวินัยธร(จันทร์)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 4 ได้ย้ายมาจากโสมนัส
 
พระครูโกฑัญญูธรรมธาดา(โต)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 3ภายหลังลาสิกขาไปรับใช้ราชการใน จ.พระนคร (ภายหลังคือเขตพระนคร)
 
พระครูวินัยธร(จันทร์)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 4 ได้ย้ายมาจากโสมนัส
ภายหลังลาสิกขาไปรับใช้ราชการใน จ.พระนคร (ภายหลังคือเขตพระนคร)
* พระภัทรธรรมธาดา(แจ้ง)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 5กลับมาจากสงขลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าให้เป็นเจ้าอาวาสดังเดิม
* พระภัทรสีลสังวร(เทศ)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 6วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาส
* พระครูวินยาณลังการ(เย็น)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 7ภายหลังสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส รับสั่งให้ย้ายไปวัดราชาธิวาส
* พระธรรมวิโรจน์(เชย)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 8พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้ามาจากวัดราชาธิวาส
* พระศาสนโสภณ(ปลอด อตฺถการี ป.ธ.9)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 9ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดราชาธวาส
* พระวิบูลศีลขันธ์(จำเรียง)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 10ภายหลังสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์โปรดให้ย้ายไปอยู่วัดราชาธิวาส
* สมเด็จพระมหาวีรวงศ์(วิน ป.ธ.9)เจ้าอาวาสวัดรูปที่ 11มีผลงานเด่นคือได้ไปแสดงพระธรรมเทศนาถวายแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เรื่อง พระมหาชนก จนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์ พระมหาชนกขึ้น
* พระธรรมปัญญาจารย์(สุพจน์ ปภสฺสโร ป.ธ.3)เจ้าอาวาสวัดรูปที่ 12ได้รับแต่งตั้งจากพระพรหมมุนี(วิชมัย ปุญฺญราโม)วัดบวรนิเวศ เป็นเจ้าอาวาสถึงปัจจุบัน
 
[[หมวดหมู่:วัดในเขตดุสิต]]
พระภัทรธรรมธาดา(แจ้ง)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 5กลับมาจากสงขลาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าให้เป็นเจ้าอาวาสดังเดิม
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นตรี]]
 
พระภัทรสีลสังวร(เทศ)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 6วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาส
 
พระครูวินยาณลังการ(เย็น)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 7ภายหลังสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส รับสั่งให้ย้ายไปวัดราชาธิวาส
 
พระธรรมวิโรจน์(เชย)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 8พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้ามาจากวัดราชาธิวาส
 
พระศาสนโสภณ(ปลอด อตฺถการี ป.ธ.9)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 9ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้มาเป็นเจ้าอาวาสวัดราชาธวาส
พระวิบูลศีลขันธ์(จำเรียง)เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 10ภายหลังสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์โปรดให้ย้ายไปอยู่วัดราชาธิวาส
 
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์(วิน ป.ธ.9)เจ้าอาวาสวัดรูปที่ 11มีผลงานเด่นคือได้ไปแสดงพระธรรมเทศนาถวายแก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เรื่อง พระมหาชนก จนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์ พระมหาชนกขึ้น
 
พระธรรมปัญญาจารย์(สุพจน์ ปภสฺสโร ป.ธ.3)เจ้าอาวาสวัดรูปที่ 12ได้รับแต่งตั้งจากพระพรหมมุนี(วิชมัย ปุญฺญราโม)วัดบวรนิเวศ เป็นเจ้าอาวาสถึงปัจจุบัน