ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: simple:Railway signal
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: zh:铁路信号机; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5:
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟจะควบคุมและกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ และระยะเวลาในการเดินรถ ของขบวนรถที่อยู่บนทางร่วมเดียวกัน รวมทั้งการสับหลีกบริเวณสถานีรถไฟ โดยการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ จะออกแบบให้ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พนักงานขับรถไฟสามารถตัดสินใจเดินรถได้อย่างมั่นใจ และไม่ให้เกิดความสับสน
 
== ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ==
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ โดยระบบที่ใช้มี 3 ประเภทดังนี้
 
 
[[ภาพไฟล์:Rail_TalingchanJn_CLRSS.jpg|200px|thumbthumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน]]]]
[[ภาพไฟล์:Rail_KaengKoiJn.jpg|200px|thumbthumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสองท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]]]
* 1. '''สัญญาณไฟสี''' มี 2 ระบบ คือ
** ระบบไฟสีสองท่า ใช้ไฟ 2 สี 3 ดวง คือ เขียว + แดง + เขียว ใช้ในเส้นทางที่รถวิ่งด้วยความเร็วต่ำ เสาสัญญาณจะมีเพียงเสาเข้าเขตใน และเสาออก
** ระบบไฟสีสามท่า ใช้ในเส้นทางหลัก โดยจะมีเสาเตือน เสาเข้าเขตใน (มีไฟสีเหลือง) และมีไฟสีขาว 5 ดวงบอกการเข้าประแจของขบวนรถ หรือเป็นจอ LED บอกหมายเลขของทางหลีก
บรรทัด 24:
 
 
[[ภาพไฟล์:Rail_Thonburi_SPRSS.jpg|200px|thumbthumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดหางปลา ที่[[สถานีรถไฟธนบุรี]] ซึ่งได้รับการอนุรักษ์ไว้]]
[[ภาพไฟล์:Railway signals.jpg|200px|thumbthumbnail|สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่[[:en:National_Railway_Museum|พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ]] ประเทศอังกฤษ]]
* 2. '''สัญญาณหางปลา''' เป็นอาณัติสัญญาณแบบดั้งเดิม แต่มีความปลอดภัยสูง เช่นเดียวกับระบบอาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสี
** '''ก.3''' ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาแบบสมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเตือน เสาเข้าเขตใน เสาออก และเสาออกตัวนอกสุด
** '''ก.4''' ประแจกล ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด พร้อมสัญญาณหางปลา มีเสาไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยเสาเข้าเขตใน และเสาออก
** '''ข.''' ประแจกลเดี่ยว พร้อมสัญญาณหางปลาเข้าเขตใน
 
* 3. '''หลักเขตสถานี'''
** '''ค.''' หลักเขตสถานี จะใช้ในสถานีที่มีจำนวนขบวนรถเดินผ่านน้อย หรือสถานีที่มีการติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณชนิดอื่นยังไม่สมบูรณ์ โดยหลักเขตสถานีจะตั้งแทนเสาเข้าเขตใน โดย พขร. จะต้องปฏิบัติตามสัญญาณมือ หรือสัญญาณวิทยุ จากนายสถานี
 
บรรทัด 39:
** สัญญาณไฟเรียงเป็นแนวเฉียง หมายความว่า สัญญาณตัวหน้าแสดงท่าอนุญาต
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ห่วงตราทางสะดวก]] (Token block)
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.riclib.nrct.go.th/jnrct/pdf/36-1-5.pdf การออกแบบระบบอาณัติสัญญาณรถไฟด้วยคอมพิวเตอร์]
* http://www.railway.co.th/seatcheck/guest/webboards/board_posts.asp?FID=2936
* http://en.wikipedia.org/wiki/Railway_signal
{{โครงคมนาคม}}
 
[[หมวดหมู่:รถไฟ]]
 
 
{{โครงคมนาคม}}
 
[[bg:Семафор]]
เส้น 67 ⟶ 66:
[[sk:Návestidlo]]
[[sv:Semafor (kommunikation)]]
[[zh:訊號信号机]]