ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกัดเซาะชายฝั่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anusara H (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anusara H (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
จะเป็นถ้ำที่พบตามบริเวณชายฝั่งทะเล หรือชายฝั่งของเกาะต่างๆ โดยการเกิดถ้ำชนิดนี้จะเกี่ยวข้องกับการกัดเซาะของคลื่นที่หน้าผาชายฝั่งเป็นเวลานานติดต่อกัน จนทำเกิดเป็นช่องหรือโพรงเข้าไป ในช่วงแรกอาจเป็นโพรงขนาดเล็ก (grotto) แต่เมื่อได้รับอิทธิพลจากน้ำฝนและน้ำใต้ดินมาช่วยก็กลายเป็นโพรงขนาดใหญ่ หรือเป็นถ้ำ (cave) ที่เราพบในปัจจุบัน
 
===4.ถ้ำลอด ([[Natural Ark|Sea Arch]])===
เป็นลักษณะทางธรณีสัณฐานที่มีความสำคัญมากเนื่องจากมีความสวยงาม จึงเป็นที่นิยมของคนในการเข้าไปท่องเที่ยวเนื่องจากมีลักษณะพิเศษคือจะเห็นเป็นโพรงหรือถ้ำที่เปิดทะลุออกสู่ทะเลทั้งสองด้าน โดยถ้ำลอดที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย คือ ถ้ำลอดที่อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา จังหวัดพังงา และเขาช่องกระจก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์