ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมบารอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
 
==ที่มาและลักษณะของสถาปัตยกรรมบาโรก==
[[ภาพ:Trier Kurfuerstliches Palais BW 1.JPG|250px|thumb|ปราสาทริเออร์ (Palace of Trier) วังอีเล็คเตอร์แห่งทริเออร์ในประเทศเยอรมันี]]
สิ่งก่อสร้างแบบ[[โรมัน]]โดย[[ไมเคิล แอนเจโล]]โดยเฉพาะ[[มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์]]ที่กรุง[[โรม]]ถือว่าเป็นที่มาของสถาปัตยกรรมแบบบาโรกเพราะเป็นการออกแบบสิ่งก่อสร้างใหญ่ที่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันที่ไม่เคยทำกันมาก่อน จิอาโคโม เดลลา ปอร์ตา ([[Giacomo della Porta)|จาโคโม เดลลา พอร์ตา]]ผู้เป็นลูกศิษย์ของมีเกลันเจโลใช้ลักษณะเดียวกันนี้ต่อมา โดยเฉพาะด้านหน้าของ[[วัดเจซู]]ของ[[ลัทธิเยซูอิด]] ซึ่งเป็นบทนำของหน้า[[Santa Susanna|วัดซานตาซูซานนา]] (Santa Susanna) โดย[[คาร์โล มาเดอร์โน]] ซึ่งถือกันว่าเป็นหน้าวัดที่สำคัญสำหรับสมัยบาโรกตอนต้น พอมาถึง[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] สถาปัตยกรรมแบบบาโรกก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและ[[ลาตินอเมริกา]]โดยนักบวชเยซูอิดที่เดินทางไปเผยแพร่ศาสนา
โดยเฉพาะด้านหน้าของวัดอิลเยซู (Il Gesu) ของลัทธิเยซูอิด (Jesuit) ซึ่งเป็นบทนำของหน้าวัดซานตาซูซานนา (Santa Susanna) โดย คาร์โล มาเดอร์โน (Carlo Maderno) ซึ่งถือกันว่าเป็นหน้าวัดที่สำคัญสำหรับสมัยบาโรกตอนต้น พอถึงคริสต์ศาสนาที่ 17 สถาปัตยกรรมแบบบาโรกก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรปและ[[ลาตินอเมริกา]]ซึ่งเผยแพร่โดยพระเยซูอิด
 
ลักษณะสำคัญๆของสถาปัตยกรรมบาโรกก็ได้แก่
* ทางสู่แท่นบูชาที่เคยยาวก็กว้างขึ้นและบางครั้งก็จะเป็นวงกลมเช่นที่[[วัดวีส์]]
* การใช้แสงสีอย่างนาฏกรรมถ้าไม่เป็นแสงและเงาที่ตัดกัน (chiaroscuro effect)หรือที่เรียกว่า[[ค่าต่างแสง]] ก็จะเป็นการใช้แสงเสมอกันจากหน้าต่างหลายหน้าต่าง เช่นที่[[Weingarten Abbey|แอบบีไวน์การ์เตน]] (Weingarten Abbey)
* การตกแต่งอย่างหรูหราด้วยเครื่องตกแต่ง เช่น putto [[ยุวเทพ]]ที่ทำด้วยไม้ที่มักจะทาเป็นสีทอง ปูนปลาสเตอร์ [[ปูนปั้น]] [[หินอ่อน]] การทาสีตกแต่ง (faux finishing)
* การใช้[[จิตรกรรมฝาผนัง]]บนเพดานกลางใหญ่ซึ่งอาจจะสร้างเป็น[[โดม]]
* ด้านหน้าภายนอกมักจะยื่นออกไปจากตรงกลางอย่างเด่นชัด
* ภายในจะเป็นโครงสำหรับภาพเขียนและประติมากรรมโดยเฉพาะบาโรกสมัยหลัง
* การผสมผสานระหว่างภาพเขียนจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมที่กลืนกันทำให้ลวงตาจนแยกไม่ออกว่าอันไหนอาจจะแยกเป็นสิ่งก่อสร้างอันไหนเป็นภาพเขียนและประติมากรรม ศิลปะแขนงใด
* การใช้โดมอย่างแพร่หลายใน[[บาวาเรีย]] [[สาธารณรัฐเช็ก]] [[ยูเครน]] และ [[โปแลนด์ ]]
* การนิยมสร้างมาเรียน[[Marian และand โฮลีทรินิตีHoly Trinity columns|คอลัมน์พระแม่มารีและตรีเอกานุภาพ]] (Marian และand Holy Trinity columns) ตามจตุรัสกลางเมือง ที่จตุรัสกลางเมืองในประเทศคาธอลิคสร้างเพื่อการฉลองความรอดภัยมาจาก[[กาฬโรคระบาดในยุโรป]] โดยเฉพาะใน[[สาธารณรัฐเช็ก]] [[ประเทศสโลวาเกีย]] และ [[ประเทศออสเตรีย]]
 
==สถาปัตยกรรมบาโรกและการขยายอาณานิคม==