ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 5:
กลุ่มแร่ไมกา ได้แก่ แร่ดิน([[Clay mineral]])และแร่กลีบหิน(flaky minerals) ประกอบด้วย ปิรามิดฐานสามเหลี่ยมที่จับตัวกันเป็นแผ่นซิลิเกด(sheet silicste)
โดยแต่ละปิรามิดมีการใช้ออกซิเจนร่วมกับปิรามิดอื่นสามตัว จึงเหลือออกซิเจนอีกตัวที่ยังไม่สมดุล จึงมีสูตรทั่วไปว่า(Si4O10)n-4 ในกรณีที่ง่ายที่สุดก็คือเอา Al+3 มาจับกับออกซิเจน
จนเกิดเป็นแร่ดินขาว(kaolinite)ในกรณีของแร่ไมกาตัวอื่น เช่น คลอไรด์หรือไบโอไทด์ นอกจาก Al แล้วยังมีไอออนตัวอื่นปรากฎปรากฏ
และจับตัวเป็นแผ่นซิลิเกด แรงเกาะยึดก็มีลักษณะคล้ายพวกที่เป็นโซ่ คือแรงเกาะยึดระหว่างซิลิเกดกับออกซิเจนมากกว่าแรงจากออกซิเจนกับแคทไอออนตัวอื่น
ด้วยเหตุนี้เองแร่ดินและแร่กลีบหินจึงมักแตกออกหรือปรากฎปรากฏรอยแตกถี่ๆ ไปตามระนาบของแผ่นนั่นเอง
สำหรับกรณีกลุ่มแร่แผ่น(mica group) เช่น ไบโอไทต์(biotite) แคทไอออน Al+3 สามารถเข้ามาแทนที่ Si+4
ในปิรามิดโดยการแทนที่ไอออน และไม่ทำให้สมบัติการจัดต่อสายโซ่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก Al+3 มีขนาดประจุเล็กกว่า Si+4 เล็กน้อย
จึงอาจจับกับปิรามิดที่มีประจุลบเกินค่าอยู่หนึ่งประจุก็พบการทำให้ประจุสมดุลย์สมดุลไม่สามารถทำได้การจัดต่อเพียงอย่างเดียว
ดังนั้นจึงต้องนำเอาแคทไอออนมาเพิ่มในโครงสร้างผลึก โดยทั่วไปประมาณหนึ่งในสี่ของปิรามิดในกลุ่มแร่ไมกา(หรือกลุ่มแร่แผ่น)ประกอบด้วย Al+3(แทนที่จะเป็น Si+4 ตามปกติ)
ดังนั้นเพื่อให้ประจุสมดุล ต้องมีการเพิ่มประจุบวกของ K+1 หรือ Mg+2 หรือแม้แต่ Al+3 ด้วยกัน ภายนอกปิรามิด ตัวอย่างแร่ที่สำคัญคือ แร่กลีบหินขาว(Muscovite-มัสโคไวต์
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไมกา"