ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาโรกแบบอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[Imageไฟล์:Greenwich Hospital from Thames.jpg|thumb|260px|[[Greenwich Hospital (London)|โรงพยาบาลกรีนิช, ลอนดอน]]ออกแบบโดยเซอร์[[คริสโตเฟอร์ เร็น]], ค.ศ. 1694]]
'''สถาปัตยกรรมบาโรกอังกฤษ''' ({{lang-en|English Baroque}}) เป็นคำที่ใช้กันอย่างหลวมๆ ที่อาจจะหมายถึงวิวัฒนาการของ[[English architecture|สถาปัตยกรรมอังกฤษ]]ที่เกิดขึ้นพร้อมกับการวิวัฒนาการของ[[สถาปัตยกรรมบาโรก]]บน[[แผ่นดินใหญ่ยุโรป]]ระหว่าง[[เพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน ค.ศ. 1666]] (1666) และ [[สนธิสัญญาอูเทร็คท์]]ที่ลงนามกันในปี ค.ศ. 1713
 
บรรทัด 7:
ลักษณะสถาปัตยกรรมบาโรกแบบอังกฤษเป็นลักษณะที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของคริสโตเฟอร์ เร็น ซึ่งเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากที่ทำกันบนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ตรงความแจ่มแจ้งของการออกแบบ และ แนวโน้มที่ออกไปทางสถาปัตยกรรมคลาสสิค หลังจากที่เกิด[[เพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน ค.ศ. 1666|เพลิงไหม้ครั้งใหญ่ในลอนดอน]] ในปี ค.ศ. 1666 คริสโตเฟอร์ เร็นก็ได้รับจ้างให้สร้างวัดใหม่ด้วยกันทั้งสิ้น 53 วัดที่ลักษณะบาโรกออกมาในรูปของโครงสร้างที่มีพลัง (dynamic structure ) และมุมมองที่สลับซับซ้อน งานชิ้นสำคัญที่สุดของคริสโตเฟอร์ เร็นคือการสร้าง[[มหาวิหารเซนต์พอล]] (ค.ศ. 1675-ค.ศ. 1711) ที่มีโดมใหญ่คล้ายกับโดมของวัดขนาดใหญ่ในฝรั่งเศสและอิตาลี ลักษณะสถาปัตยกรรมอันยิ่งใหญ่เป็นการผสานระหว่าง[[สถาปัตยกรรมพาลเลเดียน]]ของ[[Inigo Jones|อินิโก โจนส์]]กับสถาปัตยกรรมร่วมสมัยของภาคพื้นยุโรปได้อย่างเหมาะเจาะ
 
[[Imageไฟล์:Seaton Delaval Hall - main block from N.jpg|thumb|right|250px|[[คฤหาสน์ซีตันเดอลาวาลฮอลล์]] โดยเซอร์[[จอห์น แวนบรูห์]], ค.ศ. 1718]]
แม้ว่าเร็นจะสร้างสิ่งก่อสร้างที่ไม่ใช้สถาปัตยกรรมทางศาสนา แต่[[คฤหาสน์ชนบท]] แบบบาโรกที่แท้จริงหลังแรกออกแบบโดย[[William Talman (architect)|วิลเลียม ทัลแมน]]ที่[[Chatsworth House|คฤหาสน์แช็ทสเวิร์ธ]]ที่เริ่มสร้างในปี ค.ศ. 1687 ที่มาของลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบบาโรกดังว่ามาจาก[[จอห์น แวนบรูห์]] และ [[นิโคลัส ฮอคสมอร์]] ซึ่งทั้งสองคนต่างก็มีความสามารถในการสร้างทฤษฎีสถาปัตยกรรมของตนเอง แต่ก็ยังชอบที่จะทำงานไล่ตามหลังกันโดยเฉพาะในการสร้าง[[คาสเซิลฮาวเวิร์ด]] (ค.ศ. 1699) และ [[วังเบล็นไฮม์]] (ค.ศ. 1705)