ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยิปซัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Eenisatus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
}}
 
'''ยิปซัม''' ({{lang-en|Gypsum}})(CaSO<sub>4</sub>·2H<sub>2</sub>O) เป็น[[แร่อโลหะ]]ที่มีความเปราะมากCaSO4.H2O)หรือเรียกว่าเกลือจืด
เป็น[[แร่อโลหะ]]ที่มีความเปราะมากมีสีขาว ไม่มีสีหรือสีเทา มักมีสีเหลือง แดง หรือน้ำตาล เป้นมลทินปนอยู่
 
มีความวาวคล้ายแก้ว มุก หรือไหม ความแข็ง 2 ความถ่วงจำเพาะ 2.7 เนื้อแร่โปร่งใสจนกระทั่งโปร่งแสง
อาจเรียกชื่อต่างกันออกไปตามลักษณะของเนื้อแร่ คือ ชนิดซาตินสปาร์ (satinspar) เป็นแร่ยิปซัมลักษณะที่เป็นเนื้อเสี้ยน
มีความวาวคล้ายไหม ชนิดอะลาบาสเทอร์ (alabaster) มีเนื้อเป็นมวลเม็ดอัดกันแน่น และชนิดซีลีไนต์ (selenite) ใสไม่มีสี เนื้อแร่เป็นแผ่นบางโปร่งใส เกิดจากแร่ที่ตกตะกอนในแอ่งที่มีการระเหยของน้ำสูงมากและต่อเนื่อง ทำให้น้ำส่วนที่เหลือมีความเข้มข้นสูงขึ้น ถึงจุดที่แร่กลุ่มที่เรียกว่า “อีแวพอไรต์ (evaporites)” จะสามารถตกตะกอนออกมาตามลำดับความสามารถในการละลาย (solubility) ซึ่งโดยทั่วไปเริ่มจากพวกคาร์บอเนต (carbonates)
ซัลเฟต (sulphates) และเฮไลด์ (halides) การกำเนิด แร่ยิปซัมของไทยมีเนื้อเป็นเกล็ดเล็กๆ สมานแน่น เรียกว่า “อะลาบาสเตอร์ (alabaster)” ซึ่งมิได้เกิดจากการตกตะกอนทับถมกันในสภาพการณ์ปฐมภูมิจากการระเหยของน้ำ แต่เกิดจากการเติมน้ำ (rehydration)
ให้กับช่วงบนสุดของมวลแอนไฮไดรต์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลง ชนิดแร่ ยิปซัมในประเทศไทยมีประวัติที่ค่อนข้างซับซ้อน
และการศึกษาธรณีวิทยาแหล่งแร่พบว่า เคยผ่านการเปลี่ยนแปลงชนิดแร่ไปมา ระหว่างยิปซัมกับแอนไฮไดรต์ (CaSO4) หลายครั้ง
(Utha-aroon and Ratanajarurak, 1996) ก่อนจะมีสภาพเช่นในปัจจุบัน
== คุณสมบัติ ==
* มีค่าความแข็งที่ 2 ตาม[[สเกลของโมส์]] (Moh's scale)
เส้น 48 ⟶ 55:
 
== ประโยชน์ของแร่ยิปซัม ==
ประโยชน์ของแร่ยิปซัม สามารถนำมาทำ[[ปูนปลาสเตอร์]] [[ปูนซีเมนต์]](portland cement) แผ่นยิปซัมอัด(gypsum board)หรือแผ่นยิปซัมบอร์ด [[ปุ๋ย]] [[แป้งนวล]] [[ชอล์ก]] [[กระดาษ]] [[ดินสอ]] [[สี]] [[ยาง]]
ส่วนแร่ชนิดซาตินสปาร์ และอะลาบาสเตอร์ อาจนำมาใช้ในการแกะสลักหรือขัดทำเป็นเครื่องประดับได้อีกด้วย
 
== แหล่งที่พบ ==
เส้น 54 ⟶ 62:
สามารถพบได้ในประเทศ[[อิหร่าน]] [[เยอรมัน]] [[อังกฤษ]] [[อิตาลี]] [[ไอร์แลนด์]] [[แคนาดา]] [[สหรัฐอเมริกา]] และ[[ภูฏาน]]
=== ในประเทศ ===
* บริเวณเขตติดต่อของอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ กับอำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีเหมืองเปิดทำการอยู่รวม 9 เหมือง
[[จ.พิจิตร]], [[จ.นครสวรรค์]]{{อ้างอิง}}
* บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเหมืองเปิดทำการ 12 เหมือง
 
* บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช มีเหมืองเปิดทำการ 9 เหมือง นอกจากแหล่งที่มีการทำเหมืองอยู่แล้ว
ยังมีแหล่งแร่ยิปซัมที่กรมทรัพยากรธรณีเพิ่งค้นพบใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2538 ในพื้นที่อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
ซึ่งการสำรวจในปีต่อๆมา
ทำให้สามารถกำหนดขอบเขตแร่ที่ชัดเจนขึ้นได้อีกระดับหนึ่ง แหล่งแร่นี้
มีลักษณะทางธรณีวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีคล้ายคลึงกับแหล่งที่มีการทำเหมืองอยู่แล้ว นับเป็นแหล่งที่มีศักยภาพแร่สูงอีกแห่งหนึ่ง
{{อ้างอิง}}
 
== รูปผลึกยิปซัม ที่พบได้ทั่วไป ==
เส้น 64 ⟶ 81:
== อ้างอิง ==
* [http://www.dmr.go.th/main.php?filename=gypsum_m ข้อมูลแร่ยิปซัม กรมทรัพยากรธรณี]
* [http://www.dmr.go.th/ewt_news.php?nid=597&filename=min5 ข้อมูลแร่ยิปซัม กรมทรัพยากรธรณี]
 
 
[[หมวดหมู่:แร่]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ยิปซัม"