ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกเซอร์ (ธรณีวิทยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bardesage (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bardesage (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
== '''ลักษณะและการทำงาน''' ==
 
ไกเซอร์เป็นลักษณะทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นชั่วคราว โดยอายุของไกเซอร์จะมีอายุเพียงไม่กี่พันปีเท่านั้น ไกเซอร์โดยปกติแล้วมักเกิดบริเวณร่วมกับ[[ภูเขาไฟ]] ในขณะที่น้ำเดือด ผลจากแรงดันทำให้ดันน้ำขึ้นมาตามท่อนำส่งน้ำพุร้อนขึ้นมาตามแนวดิ่งสู่ผิวโลก รูปแบบของไกเซอร์จะมีลักษณะ 3 ประการทางธรณีวิทยาที่มักพบภูมิประเทศที่มี[[ภูเขาไฟ]]ร่วมด้วย ดังนี้
 
;'''ความร้อนสูง'''
 
ไกเซอร์จะได้รับความร้อนจาก[[หินหนืด]]ใต้ผิวโลก และในหลักตามความเป็นจริงแล้วไกเซอร์จะต้องการความร้อนสูงจาก[[หินหนืด]]ที่อยู่ติดกับแหล่งที่เป็นแหล่งกักเก็บน้ำก่อนที่จะปล่อยน้ำเดือดออกสู่ผิวโลก เพื่อให้น้ำเดือดและมีแรงดันน้ำสู่ผิวโลกได้
 
;'''น้ำ'''
บรรทัด 24:
== '''การปะทุของไกเซอร์''' ==
การปะทุของไกเซอร์มีลักษณะคล้ายคลึงกับการปะทุออกของ[[น้ำพุร้อน]] ที่เกิดจากน้ำผิวดินซึมลงไปใต้ดินจนกระทั่งได้พบกับหินที่ถูกทำให้ร้อนโดย[[หินหนืด]] ความร้อนภายในโลกจึงทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น แล้วนำพากลับขึ้นไปสู่ผิวโลกผ่านรอยแตกของหิน และรูพรุนในหิน
 
 
บรรทัด 36:
== ไกเซอร์ในระบบสุริยะจักรวาล ==
 
ไกเซอร์จะไม่ค่อยพบในดวงดาวอื่นๆ ใน[[ระบบสุริยะ]] อย่างไรก็ตามก็พบปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่คล้ายๆ กับไกเซอร์ที่[[ดวงจันทร์]]ของโลก และของ[[ดาวจูปิเตอร์]] โดยลักษณะที่พบจะมีการระเบิดของน้ำเย็นและมี[[แก๊ส]]ออกมาตามท่อนำส่งน้ำ โดย Tritron ซึ่งเป็นดวงจันทร์ของ[[ดาวเนปจูน]] และ Enceladus ซึ่งเป็นดวงจันทร์ของ[[ดาวเสาร์]]ก็เกิดปรากฏการณ์นี้เช่นเดียวกัน ในบางครั้งเรียกว่า “Cryovolcanoes”