ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อธิปัญญาสิกขา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''อธิปัญญาสิกขา''' แปลว่า ''การศึกษาในอธิปัญญา'' คือการปฏิบัติเพื่อเจริญ[[ปัญญา]]ให้สูงขึ้นจนตัด[[กิเลส]]ได้เด็ดขาด เป็นข้อหนึ่งในไตรสิกขา คือ'''อธิศีลสิกขา''' '''อธิจิตสิกขา''' '''อธิปัญญาสิกขา'''
 
'''อธิปัญญาสิกขา''' คือการที่ภิกษุได้บรรลุจตุตถ[[จตุตถฌาน]]แล้วนั่งเข้า[[ฌาน]]ด้วยจิตอันบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว เธอมีจิตบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ควรแก่การงาน ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้วก็โน้มน้อมจิตไปเพื่อ[[ญานทัสสนะ]] จนได้บรรลุวิชชาหรือเห็นประจักษ์ซึ่งสามัญญผลที่สูงขึ้นดียิ่งขึ้นตามลำดับ คือ
 
'''[[วิปัสสนา]][[ญาน]] [[มโนมยิทธิญาน]] [[อิทธิวิธิญาน]] [[ทิพพโสตธาตุญาน]] [[เจโตปริยญาน]] [[ปุพเพนิวาสานุสสติญาน]] [[ทิพพจักขุญาน]] และ[[อาสวักขยญาน]]'''
 
รู้ชัดตามความเป็นจริงว่านี้คือ[[ทุกข์]] นี้คือทุกข[[ทุกขสมุหทัยสมุทัย]] นี้คือทุกข[[ทุกขนิโรธนิโรธ]] นี้คือทุกข[[ทุกขนิรธิคามินีปฏิปทานิรธิคามินี]][[ปฏิปทา]] นี้คือ[[อาสวะ]] นี้คือเหตุให้เกิดอาสวะ นี้คือความดับอาสวะ นี้คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ ปฏิบัติดังนี้แลที่เรียกว่า '''อธิปัญญาสิกขา'''
 
 
''อธิ''- เป็นคำที่ใช้นำหน้ามาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ยิ่ง, ใหญ่, ทับ เช่น อธิปัญญา แปลว่า ปัญญายิ่ง
 
 
==อ้างอิง==
*[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
*พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542