ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางน้ำกวัดแกว่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Rio-cauto-cuba.JPG|thumb|right|200px|ทางน้ำกวัดแกว่งโค้งตวัด]]
[[ไฟล์:Meander.svg|thumb|right|200px]]
'''ทางน้ำกวัดแกว่งโค้งตวัด ''' ({{lang-en|Meandering stream}}) เป็นลักษณะทางธรณีสัณฐานชนิดหนึ่งของทางน้ำ ซึ่งลักษณะจะเป็นทางน้ำที่คดเคี้ยวคล้ายงูเลื้อย บ้างจึงเรียกว่าลำน้ำงูเลื่อย (snaking stream) ทางน้ำแบบนี้เกิดจากกระบวนการฟลูเวียล (Fluvial) ซึ่งจะพบบริเวณที่ราบลุ่มที่ความชันน้อยมาก จะเป็นบริเวณที่กำลังจะลง[[ทะเล]]ทางน้ำจะมีการกวัดแกว่งเพื่อรักษาควาามเสถียรของมันกัดเซาะทางลึกน้อยกว่าทางด้านข้าง เพราะจากต้นน้ำที่มีความชันมากทางน้ำก็จะมีพลังงานมาก แต่เมื่อมาถึงบริเวณที่ราบลุ่มความชันลดลงทางน้ำจึงกต้องมาการกวัดแกว่งออกทางด้านข้างเพื่อรักษาความเสถียรของมัน กระแสน้ำที่ปะทะกับตลิ่งด้านหนึ่งจะทำให้เกิดการกัดเซาะแต่จะไปเกิดการตกสะสมตัวในตลิ่งฝั่งตรงข้ามแทน แต่การกวัดแกว่งนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพตำแหน่งของท้องน้ำอยู่ในขอบเขตไม่เกินเส้นกวัดแกว่งปกติซึ่งถ้าเวลาผ่านไปเส้นก็จะมีการเปลี่ยนตำแหน่งตามไปด้วย
 
== ประเภท ==
ในบริเวณทางน้ำกวัดแกว่งโค้งตวัดสามารถแบ่งบริเวณย่อยๆ ออกเป็น 3 บริเวณได้แก่
 
*บริเวณที่ยังมีการกระทำจากกระบวนการทางน้ำ (Active) ได้แก่