ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขยะมูลฝอย"
→ประชาพิจารณ์ข้อกฎหมายเพื่อการจัดการขยะมูลฝอย
-------------------------
ข้อ ๓ ในกฎกระทรวงนี้ </br>
หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาด จาก ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย
จากชุมชน </br>
[[“มูลฝอยติดเชื้อ” ]]หมายความว่า มูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ
กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545
</br>
[[“มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ”]] หมายความว่า เศษสิ่งของ วัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วหรือเสื่อมสภาพ รวมถึงภาชนะบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ
ซึ่งมี หรือปนเปื้อน หรือมีองค์ประกอบของ วัตถุอันตรายที่อาจก่ออันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์หรือสิ่งแวดล้อม
ในขณะนั้นหรืออนาคต
</br>
[[“วัตถุอันตราย” ]]หมายความว่า วัตถุ สารหรือวัสดุที่มีคุณสมบัติ เป็นวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง หรือวัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
</br>
[[(๑) “มูลฝอยทั่วไป” ]]หมายความว่า มูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆในชุมชน เช่นบ้านพักอาศัย ธุรกิจการค้า สถานประกอบการ สถานบริการ
</br>
พิษหรืออันตรายจากชุมชน </br>▼
[[(๒) “มูลฝอยทั่วไป” ]]หมายความว่า มูลฝอยที่ไม่ใช่ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็น
“การแปรสภาพมูลฝอย” หมายความว่า การดำเนินการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือองค์ประกอบทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพของมูลฝอย ▼
</br>
▲ [[“การแปรสภาพมูลฝอย” ]] หมายความว่า การดำเนินการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะหรือองค์ประกอบทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพของมูลฝอย เพื่อให้มีความสะดวกและปลอดภัยในการขนส่งการนำกลับไปใช้ประโยชน์ การเก็บรวบรวม หรือการกำจัด</br>
สถาน
“สถานที่กำจัดโดยเตาเผา” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่ติดตั้งเตาเผาเพื่อใช้เผาทำลายของเสียที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่เผาไหม้ได้</br>▼
</br>
“สถานที่หมักทำปุ๋ย” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่มีการนำมูลฝอย มาแปรสภาพโดยวิธีการหมักโดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรีย์ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุที่มีอยู่ในมูลฝอย ผลผลิตที่ได้จะมีลักษณะเป็นผงหรือก้อนเล็กๆ สามารถนำไปใช้เป็นสารบำรุงดิน </br>▼
[[ “สถานที่คัดแยกมูลฝอย”]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยซึ่งจัดให้มีการแยกวัสดุที่นำกลับคืนออกจากมูลฝอยเพื่อนำกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่</br>
“สถานที่ฝังกลบมูลฝอย” หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่นำมูลฝอยมาเทกองในพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ ใช้เครื่องจักรกลบอัดให้แน่น ใช้ดินกลบทับเป็นชั้น ๆ และได้จัดเตรียมมาตรการป้องกันน้ำชะมูลฝอยไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน การป้องกันกลิ่นและแมลงรบกวน และการแพร่กระจายของเชื้อโรคสู่สภาพแวดล้อมโดยรอบ </br>▼
▲ [[“สถานที่กำจัดโดยเตาเผา” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่ติดตั้งเตาเผาเพื่อใช้เผาทำลายของเสียที่เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซที่เผาไหม้ได้</br>
“น้ำชะมูลฝอย” หมายความว่า ของเหลวที่ไหลชะล้างผ่านหรือออกมาจากมูลฝอย ซึ่งอาจประกอบด้วย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู่ </br>▼
▲ [[“สถานที่หมักทำปุ๋ย” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่มีการนำมูลฝอย มาแปรสภาพโดยวิธีการหมักโดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรีย์ในการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุที่มีอยู่ในมูลฝอย ผลผลิตที่ได้จะมีลักษณะเป็นผงหรือก้อนเล็กๆ สามารถนำไปใช้เป็นสารบำรุงดิน
“ภาชนะรองรับมูลฝอย” หมายความว่า ภาชนะที่ใช้ในการเก็บ ขน หรือรวบรวมมูลฝอยประเภทต่างๆ</br>▼
</br>
▲ [[“สถานที่ฝังกลบมูลฝอย” ]] หมายความว่า สถานที่จัดการมูลฝอยที่นำมูลฝอยมาเทกองในพื้นที่ซึ่งจัดเตรียมไว้ ใช้เครื่องจักรกลบอัดให้แน่น ใช้ดินกลบทับเป็นชั้น ๆ และได้จัดเตรียมมาตรการป้องกันน้ำชะมูลฝอยไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน การป้องกันกลิ่นและแมลงรบกวน และการแพร่กระจายของเชื้อโรคสู่สภาพแวดล้อมโดยรอบ
</br>
▲ [[“น้ำชะมูลฝอย” ]]หมายความว่า ของเหลวที่ไหลชะล้างผ่านหรือออกมาจากมูลฝอย ซึ่งอาจประกอบด้วย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู่
</br>
/br>
ข้อ ๔. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ต้องดำเนินการตามกฏกระทรวงว่าด้วยการนั้น
ข้อ ๑๗. การกำจัดมูลฝอยทั่วไปต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีวิธีดำเนินการ ดังนี้</br>
(๑) การฝังกลบมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล ตามข้อ ๑๘</br>
(๒) การเผาในเตาเผา ตามข้อ ๑๙</br>
(๓) การหมักทำปุ๋ย ตามข้อ ๒o</br>
ข้อ ๑๙. การกำจัดมูลฝอยทั่วไปโดยการเผาในเตาเผา ต้องเผามูลฝอยทั่วไปที่อุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 1,000 เซลเซียส
โดยมีการดำเนินการเผาให้ต้องด้วยสุขลักษณะและหลักเกณฑ์ ดังนี้</br>
(๑)
ที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน</br>
(๒) มีการป้องกันปัญหา กลิ่นจากมูลฝอย การปลิวของมูลฝอย ฝุ่นละออง เสียงดังรบกวน เหตุรำคาญ สัตว์และแมลงพาหะนำโรค</br>
ข้อ ๒๐. การกำจัดมูลฝอยโดยการหมักทำปุ๋ยจะต้องดำเนินการให้ต้องด้วยสุขลักษณะและหลักเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้</br>
(๑)
และแสงสว่างที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน</br>
(๒) มีการป้องกันปัญหา กลิ่นจากมูลฝอย การปลิวของมูลฝอย ฝุ่นละออง เสียงดังรบกวน เหตุรำคาญ สัตว์และแมลงพาหะนำโรค
(๓) ต้องบำบัดน้ำเสีย น้ำซะมูลฝอย จากสถานที่หมักมูลฝอยทำปุ๋ยให้ได้คุณภาพน้ำทิ้งตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อมหรือกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกำหนด</br>
(๔)
(๕) มีการติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบการหมักทำปุ๋ยและปุ๋ยต้องได้มาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา </br>
การบริหารจัดการของท้องถิ่น
----------------------
ข้อ
ของแต่ละท้องถิ่นนั้น โดยอาจมีรูปแบบการดำเนินการ ได้ดังนี้คือ</br>
(๑) ราชการส่วนท้องถิ่นลงทุนเอง และ ดำเนินการเองทั้งระบบ ตั้งแต่การเก็บรวบรวม
--------------------
ข้อ
ภายใต้การควบคุมดูแลของราชการส่วนท้องถิ่นตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
และผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ดำเนินการเก็บ ขน หรือกำจัดมูลฝอย มาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ที่ดำเนินการอยู่ก่อน
|