ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขยะมูลฝอย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 120:
ข้อ ๓ ในกฎกระทรวงนี้
“มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์
หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาด จาก ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน<br/>
“มูลฝอยติดเชื้อ” หมายความว่า มูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวงว่าด้วยการ
กำจัดมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545
“มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ” หมายความว่า เศษสิ่งของ วัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วหรือเสื่อมสภาพ รวมถึงภาชนะบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ
บรรทัด 142:
“น้ำชะมูลฝอย” หมายความว่า ของเหลวที่ไหลชะล้างผ่านหรือออกมาจากมูลฝอย ซึ่งอาจประกอบด้วย สารละลาย สารแขวนลอยผสมอยู่
“ภาชนะรองรับมูลฝอย” หมายความว่า ภาชนะที่ใช้ในการเก็บ ขน หรือรวบรวมมูลฝอยประเภทต่างๆ
ข้อ ๔. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน ต้องดำเนินการตามกฏกระทรวงว่าด้วยการนั้น
ข้อ ๕. การจัดการมูลฝอยทั่วไปต้องดำเนินการตาม บทบัญญัติในกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอย
 
 
หมวด ๒
การเก็บมูลฝอยทั่วไป
--------------------------
ข้อ ๖. ในการเก็บมูลฝอยทั่วไป ผู้ก่อให้เกิดมูลฝอยทั่วไปต้องเก็บมูลฝอยทั่วไป ในภาชนะบรรจุที่ต้องด้วยสุขลักษณะ ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม โดยเป็นไปตามข้อกำหนดของท้องถิ่น
ข้อ ๗. ในการใช้ภาชนะรองรับมูลฝอยทั่วไป ผู้ก่อให้เกิดมูลฝอยทั่วไปต้องจัดให้มีภาชนะรองรับที่มีลักษณะดังนี้
บรรทัด 163:
กรณีอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยทั่วไปให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยควบคุมอาคารด้วย
ข้อ ๙. ราชการส่วนท้องถิ่นอาจกำหนดให้มีจุดพักรวมมูลฝอยทั่วไป ในสถานที่สาธารณะหรือชุมชนเพื่อความสะดวกในการเก็บ ขนมูลฝอยทั่วไป โดยมีลักษณะ ดังนี้
(๑) แยกเป็นสัดส่วนเฉพาะ
(๒) ภาชนะรองรับมูลฝอยทั่วไป ทำจากวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีความแข็งแรง ทนทานต่อการกัดกร่อน ไม่รั่วซึม มีฝาปิดมิดชิด สามารถป้องกันสัตว์และแมลงพาหะนำโรคได้ มีขนาดเหมาะสมสามารถเคลื่อนย้ายหรือ ขนได้โดยสะดวก
(๓) ตั้งอยู่ห่างจากแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค สถานที่ประกอบอาหาร สถานที่รับประทานอาหาร บริเวณที่เลี้ยงเด็กอ่อน หรือสนามเด็กเล่น
(๔) มีการกำหนดขอบเขตบริเวณที่ตั้งจุดพักรวมมูลฝอยทั่วไปอย่างชัดเจน สะดวก
ต่อการเก็บรวบรวม และขนไปกำจัด มีเครื่องหมายหรือป้ายแสดงว่าเป็น “จุดพักรวมมูลฝอยทั่วไป” และมีการดูแลรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
 
ข้อ ๑o. ในกรณีที่ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบหรือผู้ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้เป็นผู้เก็บรวบรวม ขน หรือกำจัดมูลฝอยทั่วไป มีการดำเนินการคัดแยกมูลฝอยทั่วไปด้วย จะต้องจัดให้มีสถานที่ตามข้อ ๑๑ และปฏิบัติให้ต้องด้วยสุขลักษณะดังนี้
(๑) สวมชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะดำเนินการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป เช่น ถุงมือ ผ้ายางกันเปื้อน ผ้าปิดปาก-จมูก และ รองเท้าพื้นยางหุ้มแข้ง เป็นต้น
มูลฝอยทั่วไป มีการดำเนินการคัดแยกมูลฝอยทั่วไปด้วย จะต้องจัดให้มีสถานที่ตามข้อ ๑๑ และปฏิบัติให้ต้องด้วยสุขลักษณะดังนี้
(๑) สวมชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในขณะดำเนินการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป เช่น ถุงมือ ผ้ายางกันเปื้อน ผ้าปิดปาก-จมูก และ รองเท้าพื้นยางหุ้มแข้ง เป็นต้น
(๒) ไม่เผา หลอม สกัดหรือดำเนินการอื่นใดเพื่อการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป ประเภทโลหะมีค่าหรือทำลายมูลฝอย
(๓) ควบคุมมิให้มีการปลิวฟุ้ง การหก หล่น ของมูลฝอยทั่วไปและการรั่วไหล
เส้น 203 ⟶ 205:
-----------------------
 
ข้อ ๑๖. ในการกำจัดมูลฝอยทั่วไป ราชการท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบหรือผู้ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ให้ดำเนินการกำจัดมูลฝอยทั่วไป ต้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) ต้องกำจัดมูลฝอย โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวิธี ตามที่กำหนดในข้อ ๑๗
(๒) จัดให้มีผู้ควบคุมและผู้ปฏิบัติงานกำจัดมูลฝอยที่มีความรู้เกี่ยวกับระบบกำจัดมูลฝอย โดยผ่านการอบรมตามหลักสูตรและระยะเวลาตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา