ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกลือหิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dollynarak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dollynarak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
 
* '''ส่วนที่มีส่วนประกอบของธาตุโปแตสเซียม''' อยู่ด้วยเรียกว่า เกลือโปแตส มีหลายชนิดด้วยกันเช่นแร่ ซิลไวท์ (Sylvite : KCl) แร่คาร์นัลไลท์ (Carnallite : KCl.MgCl2.6H2O) แร่เคนไนท์ (Kainite : MgSO4.KCl.3H2O) และแร่ แลงบิไนท์ (Langbenite : K2SO4.2MgSO4) เป็นต้น เกลือโปแตสมีประโยชน์ในการใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมีโดยเนื่องจากมีธาตุ โปแตสเซียม (K) เป็นส่วนประกอบสำคัญ
 
 
 
 
== แหล่งเกลือหิน ==
เส้น 33 ⟶ 36:
[[ไฟล์:โดมเกลือ.jpg|left|250px|รูปแสดงลักษณะของโดมเกลือ]]
โดมเกลือคือลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของชั้นเกลือหิน ที่เกิดจากการที่ชั้นเกลือมีความหนาแน่นต่ำ (1.8 - 2.1 ตันต่อลูกบาศก์เมตร) ในขณะที่ชั้นหินที่ปิดทับมีความหนาแน่นสูงกว่า (2.5 - 2.7 ตันต่อลูกบาศก์เมตร) จึงเกิดความแตกต่างของความหนาแน่นระหว่างมวลทั้งสองขึ้น ดังนั้นมวลเกลือจึงสามารถดันตัวเองให้ลอยขึ้นมา ชั้นเกลือหินมีแรงมากระทำ ทำให้มีการไหลของเกลือและปูดขึ้นตามแนวแตกของชั้นหินที่กดทับเกิดเป็น ''“เนินเกลือ”'' , ''“โดมเกลือ''” หรือ ''“แท่งเกลือ”'' ขนาดต่างๆ ได้ในหลากหลายพื้นที่ และจากการเจาะสำรวจพบว่าแท่งเกลือบางแห่งทางตอนกลางแอ่งโคราชมีความสูงถึง 1 กิโลเมตรจากระดับชั้นเกลือเดิม