ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลนถล่ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mahatee (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
 
== กระบวนการเกิดดินหรือโคลนถล่ม ==
ส่วนใหญ่การย้ายมวลที่กล่าวถึงกันบ่อยๆ คือ แผ่นดินเลื่อน (Landslide)หรือดินถล่ม โดยรวมเอาวิธีการย้ายมวลทุกรูปแบบไว้ด้วยกัน ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้องมากนัก รูปแบบการย้ายมวลมีหลายกระบวนการด้วยกัน โดยถือ 1) ความเร็วของการย้ายมวล 2) ปริมาณน้ำที่เข้ามาเกี่ยวข้อง 3) ชนิดของสารที่เกิดการย้ายมวลและ4 ) ความลาดชันของพื้นที่ หากจำแนกตาม Sharpe (1938) จะพิจารณาความเร็วของการย้ายมวล ปริมาณน้ำและความลาดชันของพื้นที่เป็นสำคัญ โดยเรียงลำดับจาก ปริมาณน้ำน้อยและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารมาก ในพื้นที่ความลาดชันสูง – ปริมาณน้ำมากและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารน้อย ในพื้นที่ความลาดชันต่ำ ดังนี้
ส่วนใหญ่การย้ายมวลที่กล่าวถึงกันบ่อยๆ คือ แผ่นดินเลื่อน (Landslide)หรือดินถล่ม โดยรวมเอาวิธีการย้ายมวลทุกรูปแบบไว้ด้วยกัน ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้องมากนัก รูปแบบการย้ายมวลมีหลายกระบวนการด้วยกัน โดยถือปัจจัยเหล่านี้เป็นตัวกำหนด
*1) '''ความเร็วของการย้ายมวล'''
*2) '''ปริมาณน้ำที่เข้ามาเกี่ยวข้อง'''
*3) '''ชนิดของสารที่เกิดการย้ายมวล'''
*4) '''ความลาดชันของพื้นที่'''
ส่วนใหญ่การย้ายมวลที่กล่าวถึงกันบ่อยๆ คือ แผ่นดินเลื่อน (Landslide)หรือดินถล่ม โดยรวมเอาวิธีการย้ายมวลทุกรูปแบบไว้ด้วยกัน ซึ่งความจริงยังไม่ถูกต้องมากนัก รูปแบบการย้ายมวลมีหลายกระบวนการด้วยกัน โดยถือ 1) ความเร็วของการย้ายมวล 2) ปริมาณน้ำที่เข้ามาเกี่ยวข้อง 3) ชนิดของสารที่เกิดการย้ายมวลและ4 ) ความลาดชันของพื้นที่ หากจำแนกตาม ''Sharpe (1938)'' จะพิจารณาความเร็วของการย้ายมวล ปริมาณน้ำและความลาดชันของพื้นที่เป็นสำคัญ โดยเรียงลำดับจาก ปริมาณน้ำน้อยและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารมาก ในพื้นที่ความลาดชันสูง – ปริมาณน้ำมากและมีการเคลื่อนตัวของมวลสารน้อย ในพื้นที่ความลาดชันต่ำ ดังนี้
 
[[หมวดหมู่:]]*1) '''แผ่นดินถล่ม''' (Landslide)
[[หมวดหมู่:]]*2) '''กองหินจากการถล่ม''' (Debris avalanches) ซึ่งเป็นการถล่มอย่างรวดเร็วจากเทือกเขาสูงชัน โดยอัตราความเร็วอาจมากกว่า 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถทำลายสิ่งต่างๆที่ขวางกั้น +
*3) '''ดินเลื่อน''' (Earth flow) เป็นการเคลื่อนตัวของหินหรือหินผุตามไหล่เขาหรือลาดเขาจากแรงดึงดูดของโลก การเลื่อนตัวเป็นไปอย่างช้า ๆจนสามารถกำหนดขอบเขตของการเลื่อนตัวด้านข้าง ถ้าปริมาณน้ำมากขึ้นและการเคลื่อนตัวเร็วขึ้นดินเลื่อนอาจเปลี่ยนเป็นโคลนไหล (Mud flow) +

*4) '''น้ำหลากแผ่ซ่าน''' (Sheet flood) เป็นลักษณะการหลั่งไหลของน้ำแผ่ซ่านจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ขณะฝนตกหนัก เพราะปริมาณน้ำมีมากจนไหลลงร่องห้วยลำธารต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการไหลแผ่ซ่าน (Sheet flow) ของน้ำออกเป็นผืนบางๆบนผิวดิน +

*5) '''การกร่อนแบบพื้นผิว''' (Slope wash, sheet flood erosion, unconcentrated wash, rain wash หรือ surface wash) เป็นการกร่อนผุพังของพื้นผิวที่มักเกิดในฤดูฝน เพราะน้ำฝนไหลหลากลงสู่ร่องลำธารต่างๆไม่ทันจึงไหลแผ่ซ่านไปตามพื้นดินที่ต่ำกว่า ทำให้เกิดการกัดกร่อนเป็นบริเวณกว้างกว่าน้ำหลากแผ่ซ่าน (Sheet flood) +

*6) '''ธารน้ำ''' (Stream)
 
== ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ ==
 
* ฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน)
การย้ายมวลบางครั้งเกิดขึ้นมาอย่างไม่มีเหตุผลหรือโอกาสการระมัดระวังน้อยมาก โดยส่วนใหญ่ การย้ายมวลมักเกิดจากเหตุการณ์ต่อไปนี้เป็นตัวกระตุ้น
* น้ำในลำห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และเปลี่ยนเป็นสีของดินภูเขา
 
* มีเสียงดังอื้ออึง ผิดปกติมาจากภูเขาและลำห้วย
*1) '''การสั่นไหวอย่างรุนแรง''' (Sudden shock) หรือการเกิดแผ่นดินไหว พลังงานที่เกิดจากแผ่นดินไหวสามารถถ่ายทอดมายังพื้นดิน ทำให้เกิดการเสียสมดุลของพื้นที่ลาดเอียง (Slope failure)
 
*2) '''การเปลี่ยนความลาดชัน (Slope modification) หรือการถอดส่วนค้ำจุน (Support removal)'''
 
*3) '''การกัดลึก''' (Undercutting) ของลำธารตามตลิ่งหรือการกัดเซาะของคลื่นตามชายฝั่งทะเล โดยเฉพาะคลื่นลมแรงที่มีความเร็วและความแรงสูงมาก กระแทกกับชายฝั่งจนทำให้เกิดการเสียสมดุลของพื้นที่และเกิดแผ่นดินเลื่อนในที่สุด กรณีพื้นที่หมู่เกาะฮาวายซึ่งร่นเข้าไปในแผ่นดิน เนื่องจากคลื่นกระแทกหินภูเขาไฟที่มีรอยแตกถี่ๆบริเวณด้านล่างของผา จนเกิดการเลื่อนลง ทำให้หินที่วางตัวอยู่ด้านบนพังตัวลงมา
 
*4) '''ฝนตกหนัก''' (Heavy rainfall) ฝนที่ตกหนักและยาวนานอาจทำให้พื้นดินที่เอียงเทอิ่มตัวด้วยน้ำ และเกิดการเสียสมดุล ด้วยเหตุนี้การย้ายมวลจึงเกิดขึ้นบ่อยในบริเวณที่มีฝนตกชุก
*5) '''การระเบิดของภูเขาไฟ''' (Volcanic eruption) เป็นสภาวะหนักที่กระตุ้นให้เกิดแผ่นดินเลื่อนหรือถล่ม ภูเขาไฟชนิดเป็นชั้น (Strato-volcanoes) มักประกอบด้วยธารหินละลายและเถ้าถ่านไหลที่ยังไม่แข็งตัวและไม่เสถียรจึงอาจก่อให้เกิดการถล่มลงมาได้
 
 
 
 
== โคลนถล่มในประเทศไทย ==