ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรวิจิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mifu01.jpg|thumb|260px |“อักษรวิจิตร” ภาษาจีนจากสมัยราชวงศ์ซ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 11]]
'''อักษรวิจิตร'''<ref>ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php]</ref> ({{lang-en|Calligraphy}}) คำว่า “Calligraphy” มาจากภาษากรีก “κάλλος” (kallos = “วิจิตร”) และคำว่า “γραφή” (graphẽ = “การเขียน”) เป็น[[ทัศนศิลป์]]ชนิดหนึ่ง ที่มักจะเรียกว่าศิลปะของการเขียน (Mediavilla 1996: 18) ประวัติของการเขียนอักษรวิจิตรเป็นประวัติของการพัฒนาที่มาจากความสามารถทางเทคนิค, ความรวดเร็วในการเขียน, ความจำกัดของวัตถุที่ใช้, สถานที่ที่ทำการเขียน และ เวลาที่เขียน<ref>Diringer, D. (1968) ''The Alphabet: A Key to the History of Mankind'' 3rd Ed. Volume 1 Hutchinson & Co. London, pp. 441</ref> ลักษณะของการเขียนเช่นว่านี้เรียกว่า “script” (Fraser and Kwiatkowski 2006; Johnston 1909: Plate 6)
 
คำว่า “Calligraphy” มาจากภาษากรีก “κάλλος” (kallos = “วิจิตร”) และคำว่า “γραφή” (graphẽ = “การเขียน”)
การเขียนอักษรวิจิตรสมัยใหม่มีตั้งแต่ตัวอักษรที่ออกแบบสำหรับการใช้งานโดยทั่วไป ไปจนถึงการออกแบบตัวอักษรสำหรับงานวิจิตรศิลป์หรือการเขียนอักษรแบบแอบสแตร็คท์ที่อาจจะสามารถอ่านได้หรืออ่านไม่ได้ (Mediavilla 1996) ส่วนการเขียนอักษรวิจิตรในสมัยโบราณแตกต่างไปจาก[[typography|ตัวพิมพ์]] (typography) และลายมือที่ไม่ใช่ลายมือคลาสสิค อักษรวิจิตรโบราณจะเป็นอักษรที่มีลักษณะที่เป็นระเบียบแบบแผน แต่ก็มีความอ่อนไหวและแสดงถึงคุณลักษณ์ทางด้านการสร้างสรรค์ของผู้เขียน<ref>Pott, G. (2006) Kalligrafie: Intensiv Training Verlag Hermann Schmidt Mainz</ref>
 
การเขียนอักษรวิจิตรสมัยใหม่มีตั้งแต่ตัวอักษรที่ออกแบบสำหรับการใช้งานโดยทั่วไป ไปจนถึงการออกแบบตัวอักษรสำหรับงานวิจิตรศิลป์หรือการเขียนอักษรแบบแอบสแตร็คท์สแตร็กต์ที่อาจจะสามารถอ่านได้หรืออ่านไม่ได้ (Mediavilla 1996) ส่วนการเขียนอักษรวิจิตรในสมัยโบราณแตกต่างไปจาก[[typography|ตัวพิมพ์อักษรเรียงพิมพ์]] (typography) และลายมือที่ไม่ใช่ลายมือคลาสสิคคลาสสิก อักษรวิจิตรโบราณจะเป็นอักษรที่มีลักษณะที่เป็นระเบียบแบบแผน แต่ก็มีความอ่อนไหวและแสดงถึงคุณลักษณ์ทางด้านการสร้างสรรค์ของผู้เขียน<ref>Pott, G. (2006) Kalligrafie: Intensiv Training Verlag Hermann Schmidt Mainz</ref>
<ref>Pott, G. (2005) Kalligrafie:Erste Hilfe und Schrift-Training mit Muster-Alphabeten Verlag Hermann Schmidt Mainz</ref><ref>Zapf, H. (2006) The world of Alphabets: A kaleidoscope of drawings and letterforms, CD-ROM</ref>