ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกเซอร์ (ธรณีวิทยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ar, be, bg, ca, cs, da, de, el, eo, es, et, eu, fa, fi, fr, gl, he, hi, hr, hu, id, is, it, ja, ka, kk, ko, lt, lv, mk, nl, no, oc, pl, pt, ru, sk, sl, sq, sr, sv, tr, uk, vls, zh
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:GeysirEruptionNear.jpg|thumb|ไกเซอร์ในไอซ์แลนด์]]
'''ไกเซอร์''' ({{lang-en|Geyser}}) คือลักษณะของ[[น้ำพุร้อน]]ปล่อยกระแสน้ำร่วมกับ[[ไอน้ำ]]ออกมาเป็นระยะๆ ไม่สม่ำเสมอ การเกิดของไกเซอร์ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะทาง[[อุธกธรณีวิทยา]] (Hydrogeological) ซึ่งสามารถพบได้เพียงไม่กี่แห่งในโลก จีงจัดได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมมชาติที่หาดูได้ยากชนิดหนึ่ง ไกเซอร์มักจะตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณภูเขาไฟที่ยังสามารถระเบิดได้อยู่ และได้รับผลจากแม็กม่ามาในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย โดยทั่วไปแล้วที่ความลึกประมาณ 22002.2 เมตรกิโลเมตร (66006,600 ฟุต) จะเป็นบริเวณที่ผิวน้ำพบกับหินร้อน และด้วยเหตุนี้เองทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น ภายใต้ความดันใต้พื้นผิวโลกจนทำให้เกิดปรากฏการณ์ไกเซอร์ที่ปลดปล่อยกระแสน้ำรุนแรง ร่วมกับไอน้ำออกมาได้
'''ไกเซอร์''' ({{lang-en|Geyser}}) คือ ลักษณะของ[[น้ำพุร้อน]]ปล่อยกระแสน้ำร่วมกับ[[ไอน้ำ]]ออกมาเป็นระยะๆ ไม่สม่ำเสมอ
 
การเกิดของไกเซอร์ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะทาง[[อุธกธรณีวิทยา]] (Hydrogeological) ซึ่งสามารถพบได้เพียงไม่กี่แห่งในโลก จีงจัดได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมมชาติที่หาดูได้ยากชนิดหนึ่ง ไกเซอร์มักจะตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณภูเขาไฟที่ยังสามารถระเบิดได้อยู่ และได้รับผลจากแม็กม่าในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย โดยทั่วไปแล้วที่ความลึกประมาณ 2200 เมตร (6600 ฟุต) จะเป็นบริเวณที่ผิวน้ำพบกับหินร้อน และด้วยเหตุนี้เองทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น ภายใต้ความดันใต้พื้นผิวโลกจนทำให้เกิดปรากฏการณ์ไกเซอร์ที่ปลดปล่อยกระแสน้ำรุนแรง ร่วมกับไอน้ำออกมาได้
 
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานภูเขาไฟ]]