ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบริล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''เบริล''' ({{lang-en|Beryl}}) คือ เบริลเลียม อะลูมิเนียม ไซโคซิลิเกต (beryllium aluminium cyclosilicate) มีสูตรเคมี Be3Al2 (SiO3) 6 รูปผลึกเป็นเฮกซะโกนอล (hexagonal crystals) ถ้าเป็นเบริลที่บริสุทธ์ (Pure Beryl) ไม่มีธาตุอื่นปนเปื่อนจะได้สีใส แต่ที่เราพบเบริลมีหลากหลายสีเนื่องจากมีธาตุมาเจือปน ซึ่งสีที่พบก็มี สีเขียว สีฟ้า สีเหลือง สีแดง
{{wikify}}
'''เบริล''' (Beryl) คือ เบริลเลียม อะลูมิเนียม ไซโคซิลิเกต (beryllium aluminium cyclosilicate) มีสูตรเคมี Be3Al2(SiO3) 6 รูปผลึกเป็นเฮกซะโกนอล (hexagonal crystals) ถ้าเป็นเบริลที่บริสุทธ์ (Pure Beryl) ไม่มีธาตุอื่นปนเปื่อนจะได้สีใส แต่ที่เราพบเบริลมีหลากหลายสีเนื่องจากมีธาตุมาเจือปน ซึ่งสีที่พบก็มี สีเขียว สีฟ้า สีเหลือง สีแดง
 
เบริล มีหลากหลายสีซึ่งที่เราพบส่วนใหญ่จะพบใน [[แกรนิต]] (granitic), [[เพกมาไทต์]] (pegmatites) ซึ่งมันยังสัมพันธ์กับแหล่งแร่ทังสเตนและดีบุกอีกด้วย นอกจากเกิดในจำพวกหินอัคนี เรายังสามรถพบหินอื่นได้เช่น [[หินปูน]] (Limestone) ที่[[ประเทศโคลัมเบีย]] ประเทศที่พบเบริลได้แก่ [[โคลัมเบีย]] [[มาดากัสก้า]] [[รัสเซีย]] [[แอฟริกาใต้]] เป็นต้น
 
เบริลเป็นเบริลเป็น[[อัญมณี]]ที่เรียกได้ว่ามีความหลากหลายเหมือนกันอันเนื่องมาจากมีธาตุอื่นมาเจื่อปนทำให้เกิดสีต่างๆต่าง ๆ ดังนี้
* อะความารีน (Aquamarine) มาจากภาษาลาติน น้ำทะเล สีฟ้าอ่อนมาจากธาตุเหล็ก ( Fe2+ ) ที่เจื่อปนสีที่พบเป็นพลอยสีเขียวแถบน้ำเงิน จนถึงน้ำเงินแถบเขียว สีฟ้า สีฟ้าน้ำทะเล สีน้ำเงินสดเรียกว่า Brazillian Aquar Marine
* เบริลสีแดง (Red berly) ที่เรารู้จักกันในอีกชื่อคือ Red emerald, Bixbite หรือ Scarlet emerald
* Bixbite หมายถึง เบริลที่มีสีแดงเข้ม (dark red) ซึ่งธาตุที่เจือปนคือแมงกานีส ( Mn3+) มาแทนอะลูมิเนียมในโครงสร้าง แร่ที่มีความสัมพันธ์กับเบริลสีแดงได้แก่ quartz, orthoclase, topaz, spessartine, pseudobrookite และ hematite
* [[มรกต]] (Emerald) เป็นเบริลที่มีสีเขียว โดยสีเขียวเกิดจากธาตุ[[โครเมียม]]
* สีทอง (Golden beryl and heliodor)
สีที่พบมีตั้งแต่สีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองทอง ต่างจาก emerald เพราะเบริลสีทองจะมีรอยตำหนิเล็กน้อยบางครั้งเรียกอีกชื่อว่า heliodor สีเหลืองมาจากธาตุ Fe3+
* สีใส (Goshenite) เป็นเบริลที่ไม่มีธาตุอื่นเจือปน (pure berly)
* สีชมพู (Morganite) เบริลสีชมพู อาจเรียกว่า rose beryl, pink emerald, pink beryl และ cesian beryl ธาตุที่ทำให้เกิดเป็นสีชมพูคือมี Mn2+มาเจือปน
 
{{เรียงลำดับ|บเริล}}
[[หมวดหมู่:อัญมณี]]
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เบริล"