ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกลือหิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dollynarak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dollynarak (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
[[หมวดหินมหาสารคาม]] ประกอบด้วย หน่วยหินย่อย 7 ชุด เรียงจากชั้นที่แก่สุดถึงอ่อนสุด ดังนี้ หินชั้นสีแดงอายุแก่ ชั้นแอนไฮไดรต์ชั้นฐาน เกลือชั้นล่าง ดินเหนียวชั้นล่าง เกลือชั้นกลาง ดินเหนียวชั้นกลาง เกลือชั้นบน และดินเหนียวชั้นบน ชั้นเกลือหิน ประกอบด้วยแร่เฮไลต์ 80-96% นอกจากนี้บางแห่งยังพบแร่โพแทช (แร่ซิลไวต์และคาร์นัลไลต์) เกิดร่วมในเกลือหินชั้นล่าง ในบางแห่งเกลือหินชั้นบนถูกชะละลาย ทำให้เกิดปัญหาน้ำบาดาลเค็ม น้ำเค็มเมื่อมีระดับสูงใกล้ผิวดินจะพาเกลือมาสะสมผิวดิน ก่อให้เกิดปัญหาดินเค็มตามมา ลำดับชั้นเกลือทั้ง 3 ชั้น โดยมีชั้นดินเหนียวคั่นอยู่ระหว่างชั้นเกลือหิน รวมทั้งชั้นโพแทชพบอยู่ในชั้นเกลือหินชั้นล่างสุด มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
 
[[ไฟล์:T20070927100641 1637.jpg|600500px]]
 
# แอนไฮไดรต์ชั้นฐาน เป็นชั้นหินเกลือระเหยที่อยู่ล่างสุดในแอ่ง มีความหนาค่อนข้างสม่ำเสมอประมาณ 1-2 เมตร วางตัวอยู่ใต้ชั้นเกลือหินและทับอยู่บนหินทรายเนื้อละเอียด